กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา รหัส กปท. L7252

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มคน
1.นายนฤทธิรงค์ นพรัตน
2.นางจินดาพร แซ่เฉีย
3.นางสมยาหวังจิ
4.นายธนเดชเตียวสกุล
5.นายกิตติเรืองเริงกุลฤทธิ์
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่ยังสามารถแก้ไขไม่ได้และยังเป็นปัญหาในด้านสาธารณสุข ซึ่งโรคพิษสุนัขบ้า เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อเรบี่ส์ไวรัส(RabiesVirus)มีรูปร่างคล้ายกระสุนปืน เมื่อเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายคนหรือสัตว์แล้วจะเดินทางไปตามเส้นประสาทเข้าสู่สมอง เมื่อเกิดอาการขึ้นแล้วไม่สามารถรักษาให้หายได้ ต้องเสียชีวิตทุกราย ต่อมาจึงจัดเป็นโรคร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเกิดได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เช่น สุนัขแมวกระรอกหนูวัวควายฯลฯซึ่งเชื้อนี้สามารถอยู่ในน้ำลายของสัตว์ เช่น น้ำลายของสุนัขและเชื้อสามารถแพร่กระจายโดยถูกการกัดหรือสัมผัสกับน้ำลาย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงหาวิธีการแก้ไขเพื่อให้เป็นไปตามระบบและอยู่ภายใต้ข้อกฎหมายต่างๆจึงมีแนวทางการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนและยั่งยืน สามารถลดความเสี่ยงและลดอุบัติการณ์ของการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าทั้งในคนและสัตว์ ทางเทศบาลเมืองสะเดาจึงได้จัดทำโครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาสุนัขในชุมชนอย่างยั่งยืน อันจะนำไปสู่การบริหารจัดการจำนวนสุนัขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปในทางเดียวกันเพื่อให้จำนวนประชากรสุนัขในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดามีจำนวนลดน้อยลง เนื่องจากจำนวนประชากรของสุนัขในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ที่มีเจ้าของจำนวน ๙๙๖ ตัว เป็นสุนัขเพศผู้ ๖๐๗ ตัว สุนัขเพศเมีย ๓๘๘ ตัว รวมทั้งหมด ๙๙๕ ตัว สุนัขจรจัด ๕๓ ตัว และปัญหาสุนัขจรจัดในเทศบาลเมืองสะเดาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๓ นั้นมีประชาชนทั้ง ๑๙ ชุมชมร้องเรียนเรื่องสุนัขจรจัดสร้างความเดือนร้อนให้กับหลายๆชุมชน เช่นสุนัขจรจัดทำร้ายและกัดคนในชุมชน เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาแบบยั่งยืนและมีประสิทธิภาพทำให้ประเทศไทยปลอดจากโรคพิษสุนัขบ้าในที่สุด ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทางเทศบาลเมืองสะเดา ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้ทำโครงการฯดังกล่าวขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการจัดการที่ถูกต้องกับสุนัขในชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อสร้างทัศนคติที่เป็นบวกเกี่ยวกับสุนัขในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อจัดการให้สุนัขทุกตัวในชุมชนสามารถจับบังคับได้ และมีการขึ้นทะเบียนประวัติ
    ตัวชี้วัด : จำนวนสุนัจที่มีป้ายห้อยคอระบุสีของป้ายอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อควบคุมประชากรสุนัขและดูแลสุขภาพสุนัขในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. เพื่อสร้างมาตรการที่เหมาะสมกับสุนัขที่เข้ามาใหม่ในชุมชนซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงาน และชุมชนต่างๆในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 6. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุนัขในชุมชนให้เป็นมิตรกับคนในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 7. เพื่อควบคุมประชากรสุนัขในที่สาธารณะไม่ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยการผ่าตัดทำหมัน
    ตัวชี้วัด : เจ้าของนำสุนัข พาสุนัขมาทำหมันอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 8. เพื่อตรวจสุขภาพและป้องกันโรคของสุนัขและโรคสัตว์สู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น
    ตัวชี้วัด : นำสุนัขมาฉีดวัคซีนอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับสุนัขในชุมชน
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับสุนัขในชุมชน โดยเชิญวิทยากรพิเศษมาให้ความรู้เกี่ยวกับสุนัขในชุมชนและความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนทั้ง๑๙ ชุมชนโดยมีขอบเขตเนื้อหาดังนี้ ๑.) สุนัขในชมชุนสร้างความเดือนร้อนอย่างไรกับคนในชุมชน ๒.) วิธีการป้องกันไม่ให้สุนัขในชุมชนเพิ่มจำนวนและรับมือกับสุนัขใหม่ที่เข้ามาในชุมชน ๓.) โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากอะไร ๔.) การสังเกตอาการของสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า
    ๕.) การรักษาหากเกิดโรคพิษสุนัขบ้าระบาดในชุมชน ๖.) การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

    งบประมาณ 50,800.00 บาท
  • 2. กิจกรรมฉีดวัคซีนให้แก่สัตว์เลี้ยงทั้ง ๑๙ ชุมชนโดยให้ประชาชนนำสัตว์เลี้ยงมารับวัคซีน ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา
    รายละเอียด

    ประชาชนที่นำสัตว์เลี้ยงมาฉีดวัคซีน /กิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมิน

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. กิจกรรมทำหมันให้สุนัขในชุมชนเพื่อควบคุมการเพิ่มจํานวนประชากรสุนัขในชุมชน
    รายละเอียด

    สุนัขในชุมชนมีจำนวนลดน้อยลงและยังควบคุมปัญหาโรคระบาดในสัตว์ เช่น โรคพิษสุนัขบ้า

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. ทำป้ายห้อยคอสุนัขในเขตชุมชน ๑๙ ชุมชน ด้วยการระบุสีของป้ายห้อยคอ
    รายละเอียด

    ช่วยป้องกันการทำร้ายจากสุนัขในชุมชนและช่วยลดปัญหาสุนัขจรจัดเข้ามาในพื้นที่

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 50,800.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นเงินจำนวน50,800.- บาท (ห้าหมื่นแปดร้อยบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการและผู้ที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมโครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชนเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ดังนี้ รายละเอียดค่าใช้จ่าย ระเบียบ/หลักเกณฑ์/แนวทาง 1) ค่าอาหาร อาหารว่าง และเครื่องดื่ม - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและเจ้าหน้าที่ มื้อละ 75 บาท1 มื้อ จำนวน 200 คน เป็นเงิน 15,000.-บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและเจ้าหน้าที่ มื้อละ 25 บาท2 มื้อ จำนวน 200คนเป็นเงิน10,000.-บาท 3) ค่าสมนาวิทยากร -ค่าวิทยากรประจำกลุ่มฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อกล่าวถึงสถานการณโรคพิษสุนัขบ้า -สุนัขในชมชุนสร้างความเดือนร้อนอย่างไรกับคนในชุมชน -วิธีการป้องกันไม่ให้สุนัขในชุมชนเพิ่มจำนวนและรับมือกับสุนัขใหม่ที่เข้ามาในชุมชน -โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากอะไร -การสังเกตอาการของสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า -การรักษาหากเกิดโรคพิษสุนัขบ้าระบาดในชุมชน -การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จำนวน 4 ครั้งชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง ต่อ 1 วิทยากรพิเศษ รวมเป็นเงิน 14,400.-บาท ๔) ค่าวัสดุอุปกรณ์/ป้ายไวนิล -ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสาร และสิ่งพิมพ์ ชุดละ 12 บาท X200 คน เป็นเงิน 2,400.-บาท -ค่าไวนิล 2,400 บาทเป็นเงิน 2,400.-บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม เป็นเงิน 6,600.-บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประธานชุมชน, ตัวแทน อสม.ทั้ง ๑๙ ชุมชน เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลโครงการ และประชาชนที่สนใจในกิจกรรม
2.ประชาชนที่นำสัตว์เลี้ยงมาฉีดวัคซีน /กิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมิน 3.สุนัขในชุมชนมีจำนวนลดน้อยลงและยังควบคุมปัญหาโรคระบาดในสัตว์ เช่น โรคพิษสุนัขบ้า 4.ช่วยป้องกันการทำร้ายจากสุนัขในชุมชนและช่วยลดปัญหาสุนัขจรจัดเข้ามาในพื้นที่

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา รหัส กปท. L7252

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา รหัส กปท. L7252

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 50,800.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................