กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม รหัส กปท. L3027

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการลดความดันโลหิตสูงด้วยสมุนไพรไทย
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
กลุ่มคน
ฟาฎีละห์ บาเหะ
สารีผะ มะเกะ
เจ๊ะมัยซัน เต๊ะ
ปาตีมา กาซอ
อามีเน๊าะ บือโต
3.
หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง(Hypertention)เป็นโรคที่มีความสำคัญมาก เนื่องจากผู้ป่วยเกินกว่าครึ่งมักจะไม่มีอาการใดๆ จึงเป็นภัยเงียบที่กว่าจะรู้ตัวว่ามีความดันโลหิตสูง ก็เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้นแล้ว โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจตีบทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจหนา ภาวะหัวใจวาย ภาวะไตวายเรื้อรัง หลอดเลือดสมองตีบหรือแตกเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตตามมา จนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้น การที่เรารู้ตัวว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงตั้งแต่ระยะแรกๆ สามารถควบคุมความดันโลหิตที่สูงให้กลับมาสู่ระดับปกติได้ ก็จะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้

สาเหตุเกิดจากโรคความดันโลหิตสูง มากกว่าร้อยละ 90 ไม่มีสาเหตุ มีเพียงส่วนน้อยที่มีสาเหตุ เช่น โรคของต่อมไร้ท่อบางชนิด โรคไต โรคของหลอดเลือดบางประเภท ที่ทำให้ความดันโลหิตสูงได้ ปัจจัยที่ส่งเสริมให้มีความดันโลหิตสูง มีหลายปัจจัย เช่น อายุ เพศ พันธุกรรม เชื้อชาติ ภาวะนํ้าหนักตัวเกินหรือโรคอ้วน และการรับประทานอาหารเค็มจัด เป็นต้น

อาการของโรคความดันสูงจะไม่แสดงถึงความผิดปกติ ในบางรายอาจตรวจพบโรคความดันสูงเมื่อเป็นมานานโดยไม่รู้ตัวและเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นแล้ว หรือบางรายที่เป็นโรคความดันสูงระยะรุนแรงจะแสดงอาการเพียงเล็กน้อย ซึ่งผู้ป่วยอาจมีอาการดังนี้ 1.ตาขาวมีจุดเลือดกระจายทั่ว ๆ ไป 2.หน้าแดง 3.ปวดศีรษะอย่างรุนแรง 4.หายใจสั้น 5.มีอาการวิตกกังวล 6.เลือดกำเดาไหล ทั้งนี้ อาการที่บ่งบอกของโรคความดันสูงยังไม่มีความเฉพาะเจาะจงและยังมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล จึงเป็นเรื่องยากในการวิเคราะห์โรคจากอาการที่เกิดขึ้น ทำให้ผู้ป่วยหลายรายไม่ทราบว่าตนเองกำลังเป็นโรคความดันสูงหากไม่มีการตรวจความดันโลหิตและตรวจสุขภาพประจำปี ด้วยเหตุนี้โรคนี้จึงได้ถูกเปรียบเปรยหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเป็นฆาตกรเงียบ

วิธีการรักษา แนะนำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านการรับประทานอาหารเบื้องต้น โดยการลดอาหารประเภทโซเดียมสูง เน้นรับประทานผักและผลไม้ที่มีกากใยสูง ธัญพืช ปลาที่อุดมไปด้วยกรดไขมันที่ดีต่อร่างกาย หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อแดง ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและการใช้ยาร่วมด้วย เพื่อช่วยปรับค่าความดันโลหิตให้ลดลงอยู่ในระดับปกติ

ปัจจุบันงานวิจัยสมุนไพรไทยของการแพทย์แผนไทยพบว่ามีสมุนไพรบางชนิดที่สามารถลดความดันโลหิตสูง เช่นกระเจี๊ยบ ขึ้นฉ่าย กระเทียม บัวบก มะกรูด ใบกะเพรา ขิง และฟ้าทะลายโจรเป็นต้น ซึ่งเป็นสมุนไพรที่สามารถปลูกได้ง่าย เป็นสมุนไพรพื้นบ้านแต่มากด้วยสรรพคุณ หาง่าย ราคาไม่แพง การนำสมุนไพรที่มีสรรพคุณลดความดันโลหิตสูงมาใช้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงถือว่าเป็นทางเลือกที่ดีในการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรไทยและสามารถนำสมุนไพรไทยไปใช้ให้เกิดประโยชน์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 48.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. คัดกรองผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
    รายละเอียด

    1.คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มผู้สูงอายุ(ไม่มีค่าใช้จ่าย)

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. บรรยายให้ความรู้ลดความดันโลหิตสูงด้วยสมุนไพรไทย
    รายละเอียด

    จัดบรรยายให้ความรู้ลดความดันโลหิตสูงด้วยสมุนไพรไทย จัดรอบละ20คน จำนวน3รอบ รอบที่1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่1และหมูที่2 รอบที่2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่3 รอบที่3.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่7 ค่าใช้จ่ายสำหรับจัดบรรยาย1รอบ มีรายละเอียดดังนี้ 1.ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 1 มื้อ 50 บาท x 20 คน คิดเป็นเงิน 1,000บาท 2.อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 บาท x 20 คน คิดเป็นเงิน 1,000บาท 3.ค่าวิทยากร 400 บาทx 8ชม. เป็นเงิน 3,200บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ 200 บาท (แก้วกระดาษ ช้อน หม้อ ทัพพี) 5.ค่าสมุนไพร 800บาท (ฟ้าทะลายโจร ขึ้นฉ่าย กระเจี๊ยบแดง กระเทียม ขิง ใบกะเพรา บัวบก และมะกรูด) หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายในการจัดบรรยายรอบละ6,200บาท (จัด3รอบ) คิดเป็นเงิน18,600บาท

    งบประมาณ 18,600.00 บาท
  • 3. สื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ลดความดันโลหิตสูงด้วยสมุนไพรไทย
    รายละเอียด

    1.สื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ลดความดันโลหิตสูงด้วยสมุนไพรไทย (โปสเตอร์สีสวย) ขนาด50ซม.x70ซม. แผ่นละ37บาท จำนวน25แผ่น เป็นเงิน925 บาท 2.แผ่นพับให้ความรู้ลดความดันโลหิตสูงด้วยสมุนไพรไทย (กระดาษมันสีสวย)จำนวน300แผ่นx4 บาท เป็นเงิน1,200บาท

    งบประมาณ 2,125.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,725.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง 2.มีความรู้สมุนไพรไทยที่มีสรรพคุณลดความดันโลหิตสูง 3.สามารถนำสมุนไพรลดความดันโลหิตมาใช้ได้ถูกวิธี 4.สามารถนำความรู้สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง ไปเผยแพร่ให้กับครอบครัวหรือบุคคลที่รู้จักได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม รหัส กปท. L3027

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม รหัส กปท. L3027

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,725.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................