กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการแม่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ตำบลขึ่ง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ประจำปีงบประมาณ 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลขึ่ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแม่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ตำบลขึ่ง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ประจำปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลขึ่ง

กลุ่มสตรีแม่บ้านตำบลขึ่ง

นางสาวสุวิมลทาวัน

ตำบลขึ่ง อำเภอเวียง จังหวัดน่าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

80.00

เนื่องด้วยภาวะที่เร่งรีบจากกระแสการพัฒนาในยุคปัจจุบัน ภาวะการเติบโตทางเศรษฐกิจของวัตถุนิยม ที่มุ่งให้ความสาคัญกับการพัฒนาทางด้านวัตถุ ทำให้ประชาชนมีวิถีการดารงชีวิตที่เร่งรีบ เกิดค่านิยม วัฒนธรรม และวิถีการดำเนินชีวิตที่ไม่เพียงพอ ขาดความสมดุล ทำให้ประชาชนขาดการเอาใจใส่ดูแล ควบคุม และป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม นิยมบริโภคอาหารขยะ อาหารปรุงสำเร็จพร้อมรับประทาน (กับข้าวถุง) ซึ่งส่วนใหญ่มีส่วนประกอบจากแป้ง น้ำตาล น้ำมัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือมากขึ้นหรือแม้แต่งานเลี้ยงทีจัดขึ้นในชุมชน การประกอบอาหารในงานเลี้ยงส่วนใหญ่จะเน้นเครื่องปรุงรสประเภท คะนอรสดี ผงปรุงรสทั้งชนิดก้อนและผงชูรส แม้ว่าจะมีเสียงสะท้อนจากผู้ที่รับประทานอาหารในงานเลี้ยงว่าอาหารในงานเลี้ยงใช้ผงปรุงรสมาก ทำให้มีอาการปวดตามข้อมากขึ้นแต่ก็ยังคงมีการใช้ในประมาณมากเช่นเดิม การรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ต่อเนื่องเป็นเวลานาน ส่งผลให้เกิดโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและโรคไต โดยเฉพาะอาหารที่มีรสเค็ม ที่มาจากเกลือ น้ำปลา และเครื่องปรุงรสทุกชนิด ที่มีส่วนประกอบของโซเดียมเพราะฉะนั้นแนวทางในการลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง คือ ลดการกินเค็ม ลดการใช้เครื่องปรุงอาหารที่มีเกลือเป็นส่วนประกอบ กลุ่มแม่บ้านเป็นกลุ่มที่มีบทบาทในการจัดอาหารในงานเลี้ยงของชุมชนการลดเครื่องปรุงรสในงานเลี้ยงของชุมชนจึงเป็นจุดเริ่มต้น ในการสร้างความตระหนัก และเป็นต้นแบบให้ชุมชนเห็นความสำคัญในการปรุงอาหารลดเค็ม เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. เพื่อให้แม่บ้านมีความรู้ เข้าใจ ความเสี่ยงของการรับประทานอาหารที่มีรสเค็ม
2. เพื่อให้กลุ่มแม่บ้านมีแนวทางที่ชัดเจนในการจัดอาหารลดเค็ม ลดเครื่องปรุงรส ในงานเลี้ยงของชุมชน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>