กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมกิจกรรมทางกายผู้สูงวัยตำบลวังพญา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กลุ่มบัณฑิตอาสาฯตำบลวังพญา

1.นางสาวอาอีเส๊าะหะเด็ง 2.นางสาวอามียะ สือมะแอ 3.นางสาวกัสมะ อาบูวะ 4.นางสาวสารีนาดอมะ5.นางสาวมารีเยาะการีมา 6.นางสาวอารีนี จือแร 7.นายอาลียัส สูเกะ

ตำบลวังพญา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีความทันสมัยและสะดวกสบายมากขึ้นทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง มีผลทำให้ร่างกายอ่อนแอและเจ็บป่วยมากขึ้นซึ่งปัญหาการเจ็บป่วยที่เกิดจากโรคไม่ติดต่อ ได้กลับกลายมาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน5อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหัวใจโรคระบบกล้ามเนื้อและไขมันอุดตันในเส้นเลือดซึ่งผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงานกลุ่มผู้สูงอายุและสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารไม่ถูกต้องซึ่งหากประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอปัญหาดังกล่าวสามารถลดลงได้ทั้งนี้ทีมบัณฑิตอาสวฯได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ถือได้ว่าเป็นการพัฒนาทรัพยากรที่สำคัญจึงได้จัดกิจกรรมให้กับกลุ่มผู้สูงอายุในตำบล

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อการจัดระบบบริการผู้สูงอายุแบบใหม่

ร้อยละของผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไปที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

60.00 1.00

.1. เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน


2. เพื่อให้ประชาชนในตำบลวังพญาได้มีส่วนร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอร่วมกัน


3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยแกประชาชนตำบลวังพญา

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/03/2021

กำหนดเสร็จ 25/03/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยหรือประเพณีพื้นบ้านการละเล่นพื้นบ้านเพื่อดูแลสุขภาพจิตอารมณ์ผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยหรือประเพณีพื้นบ้านการละเล่นพื้นบ้านเพื่อดูแลสุขภาพจิตอารมณ์ผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมการทำอาหารสุขภาพพื้นบ้านแก่ผู้สูงอายุ ค่าอาหารว่าง 1มื้อ50คน มื้อละ30บาท 30 x50=1,200บาท ค่าอาหาร 1มื้อ 40 คน มื้อละ50บาท 50 x40=2,000 บาท ค่าวิทยากร 5ชั่วโมง ชั่วโมง300บาท 300x5=1500 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ 2,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มีนาคม 2564 ถึง 18 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดี อารมณ์ดีในการทำกิจกรรมร่วมกันในการปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรอาหารพื้นบ้านจำนวน40 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

กิจกรรมที่ 2 การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยหรือประเพณีพื้นบ้านการละเล่นพื้นบ้านเพื่อดูแลสุขภาพจิตอารมณ์ผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยหรือประเพณีพื้นบ้านการละเล่นพื้นบ้านเพื่อดูแลสุขภาพจิตอารมณ์ผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งเสริมการละเล่นพื้นบ้านให้กับผู้สูงอายุค่าอาหารว่าง 1มื้อ50คน มื้อละ30บาท 30 x50=1,200บาท ค่าอาหาร 1มื้อ 40 คน มื้อละ50บาท 50 x40=2,000 บาท ค่าวิทยากร 5ชั่วโมง ชั่วโมง300บาท 300x5=1500 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ 2,500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มีนาคม 2564 ถึง 25 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดี อารมณ์ดี ร่างกายแข็งแรง ในการทำกิจกรรมร่วกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีสุขภาพดี
2.ประชาชนในตำบลวังพญาได้มีกิจกรรมผ่อนคลายความเครียดจากการทำงาน
3.ช่วยป้องกันโรคต่างๆเช่นหลอดเลือดหัวใจตีบตันลดไขมันในเส้นเลือดเป็นต้น


>