กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแปรรูปขยะเปียกเบ็นปุ๋ยอินทรีย์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

บัณฑิตอาสาฯ

1.นางสาวเจ๊ะฮาสือนะ กูโน ประธาน
2.น.ส.ฮายาตีอาแว รองประธาน
3.น.ส.ลาตีปะห์ สาอิ เลขานุการ
4.นายกูจิ ต่วและ ประชาสัมพันธ์
5.ว่าที่ร้อยตรีอาลีฟศักดิ์ สะนิ ปฏิคม
6.นางสาวนูดา บินดอเล๊าะ กรรมการ
7.นางสาวสารีนา เล็งฮะ กรรมการ
8.นางสาวนุร์ใอนิง มามะ กรรมการ
9.นายมูหามะไซฟูดีน ดาโอ๊ะ กรรมการ

บ้านชุมบก หมู่ที่ 9 ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

 

1.00
2 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

 

1.00
3 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

 

1.00
4 ครัวเรือนทิ้งขยะโดยไม่แยกขยะตามหลักการที่กำหนดคือ ขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะอันตราย

 

230.00

ปัญหาขยะอินทรีย์นับวันจะมีมากขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร พฤติกรรมการบริโภคที่ต้องการความสะดวกสบาย การจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการ หรือกำจัดโดยการทิ้งโดยไม่เกิดประโยชน์ เป็นต้นถึงแม้ว่าหน่วยงานของภาครัฐจะมีหน้าที่รับผิดชอบ ต้องรับภาระในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นด้วยวิธีการทิ้งแบบรวมในถังเดียวกันโดยไม่แยกขยะเปียก และยะแห้ง ซึ่งก็จะเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุและไม่ยั่งยืน ซึ่งแนวทางที่ดีที่สุดสำหรับการแก้ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอย ต้องมีการจัดการจากแหล่งกำเนิด เช่น จากครัวเรือน ชุมชน และตลาดสด เป็นต้น โดยต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน ความสำคัญในการกำจัดขยะอินทรีย์ที่ทำให้เกิดกลิ่นเหม็น รบกวน และส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และถูกทิ้งโดยเปล่าประโยชน์ อีกทั้งยังเป็นการสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในชุมชนดูแล/จัดการกับปัญหาขยะที่เกิดจากครัวเรือนได้อีกด้วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

1.00 70.00
2 เพื่องส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากขยะ

ประชาชนในหมู่บ้านสามารถใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 60

60.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 31/07/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปขยะเปียกให้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ -ค่าไวนิล 1 ป้าย เป็นเงิน 600 บาท -ค่าวิทยากรจำนวน2 คน 6 ชั่วโมง600 บาท เป้นเงิน 3,600 บาท -ค่าอาหารว่าง 100 คน *25 บาท2 ครั้งเป็นเงิน 2,500 บาท -ค่าอาหารกลาง 100 คน50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ 100 คน60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 พฤษภาคม 2564 ถึง 15 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 100 คน มาอบรมร้อยเปอร์เซนต์ ผู้ผ่านอบรมสามารถผลิตปุ๋ยอินทีย์จากขยะได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ทุกครัวเรือนมีหลุมกำจัดขยะอินทรีย์ ร้อบละ 80
ทุกครัวเรือนสามารถใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ ร้อยละ 80


>