กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหมู่ที่4บ้านหนองกางเขน

หมู่ 4,7,8,9,10,11 ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

0.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

0.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

0.00
4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

0.00
5 อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน

 

0.00
6 อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

 

0.00

ผลการดำเนินงานจากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกางเขน ในปี2562 ที่ผ่านมา เป้าหมายการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปี จำนวน 8,386 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 3,844 คน คิดเป็นร้อยละ 45.84 พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 70คน คิดเป็นร้อยละ 1.87 กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ ๐.44 และเป้าหมายการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปี จำนวน 7,957 คน ได้รับการคัดกรองจำนวน 3,751 คน คิดเป็นร้อยละ 47.14 พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 212 คน คิดเป็นร้อยละ 3.23 กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อย0.69 ซึ่งพบว่ามีอัตรากลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้นจากปี2561 อย่างต่อเนื่อง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

0.00 0.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

0.00 0.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง

0.00 0.00
4 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง

0.00 0.00
5 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม > 70%

30.00 70.00
6 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
  1. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง = 5
26.50 5.00
7 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีงบประมาณ2562 ร้อยละ 2.5

24.51 22.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อ 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประเมินความรู้ความเข้าใจ ความแตกฉานทางสุขภาพ และภาวะสุขภาพ(health literacy)ของ กลุ่มเป้าหมายก่อน-หลังดำเนินการ และการนำสู่ครอบครัว

ชื่อกิจกรรม
ประเมินความรู้ความเข้าใจ ความแตกฉานทางสุขภาพ และภาวะสุขภาพ(health literacy)ของ กลุ่มเป้าหมายก่อน-หลังดำเนินการ และการนำสู่ครอบครัว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2020 ถึง 15 มิถุนายน 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมส่งเสริมความแตกฉานในการดูแลตนเอง และให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และโรคไตเรื้อรัง แก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ จำนวน 4 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมความแตกฉานในการดูแลตนเอง และให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และโรคไตเรื้อรัง แก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ จำนวน 4 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน x  80 บาท x 1 มื้อ  =  3,200  บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,000  บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายจำนวน 2  คน x 3ชั่วโมง ๆละ600บาท  = 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 กรกฎาคม 2020 ถึง 22 กรกฎาคม 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8800.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมติดตามครั้งที่ 1จำนวน 40 คนระยะเวลาในการอบรมครึ่งวัน ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกางเขน

ชื่อกิจกรรม
อบรมติดตามครั้งที่ 1จำนวน 40 คนระยะเวลาในการอบรมครึ่งวัน ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกางเขน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากรภาครัฐ ชม.ละ 600 บาท x 3ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40คน เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 กรกฎาคม 2020 ถึง 29 กรกฎาคม 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2800.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมติดตามกิจกรรมให้ความรู้ 3อ.2ส./6:1:1

ชื่อกิจกรรม
อบรมติดตามกิจกรรมให้ความรู้ 3อ.2ส./6:1:1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากรภาครัฐ ชม.ละ 600 บาท x 3ชม.            เป็นเงิน 1,800 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40คน              เป็นเงิน 1,000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 สิงหาคม 2020 ถึง 5 สิงหาคม 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2800.00

กิจกรรมที่ 5 อบรมติดตาม ครั้งที่ 3 จำนวน 40 คน ระยะเวลาในการอบรมครึ่งวัน ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกางเขน

ชื่อกิจกรรม
อบรมติดตาม ครั้งที่ 3 จำนวน 40 คน ระยะเวลาในการอบรมครึ่งวัน ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกางเขน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากรภาครัฐ ชม.ละ 600 บาท x 3ชม.    =  1,800    บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40คน      =  1,000    บาท 3.ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรมโครงการ จำนวน 40คน x 50 บาท    = 2,000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 สิงหาคม 2020 ถึง 19 สิงหาคม 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,200.00 บาท

หมายเหตุ :
รายการดังกล่าวข้างต้นสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สนับสนุนส่งเสริมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยทักษะการสร้างความแตกฉานทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถชะลอหรือป้องกันการเป็นผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


>