กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย อบต.ท่าบอน(อนุบาล 3 ขวบ)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

 

3.00

เด็กปฐมวัยจะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพคุณพ่อคุณแม่ผู้ประกอบอาหารจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับเด็กในอายุระหว่าง 1 - 6 ปี หรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก 3 มื้อที่มีคุณค่าครบ 5 หมู่ และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ 2 มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว การโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยพัฒนาการของเด็กให้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคต การเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดู สามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็กได้โดยวัดความยาวหรือส่วนสูง น้ำหนัก และวัดเส้นรอบศีรษะ เนื่องจากปัจจุบันนี้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วน โภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) จะต้องได้รับการดูแลแก้ไขพร้อมทั้งปลูกฝังส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน การพัฒนาการสมวัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

ร้อยละ 100 เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

5.00 100.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย

ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน

8.00 100.00
3 ปลูกฝังส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ร้อยละ 100 เด็กมีสุขภาพดี

10.00 100.00
4 เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

ร้อยละ 100 เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน

3.00 3.00
5 เพื่อให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและฝึกทักษะแก่ผู้ปกครอง ได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแก่เด็ก

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 31/10/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การจัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 ต.ค.64 สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (สภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง สายวัดรอบศีรษะ และอื่นๆ ที่จำเป็น) หากชำรุดหรือไม่มีให้ขอรับสนับสนุนจากกองทุนเพื่อจัดหาทดแทน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 1 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เครื่องมือเครื่องใช้ จำเป็นต้องจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนักใหม่ เนื่องจากเครื่องชั่งน้ำหนักที่มีอยู่ชำรุด 2.๑.๒ กิจกรรมย่อย ๔– ๗ ส.ค ๖3คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม)พร้อมจัดทำข้อมูล ๑.๓ กิจกรรมย่อย ๑5 ส.ค. 6๓ – 7 ก.พ.๖๔ กระตุ้นพฤติกรรมการออกกำลังกายให้แก่เด็ก อย่างน้อย ๓๐ นาที ต่อครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละไม่น้อยกว่า ๓๐ นาที เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการกล้ามเนื้อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อ

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้อ ครุภัณฑ์ เครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 1 เครื่องเป็นเงิน 800 บาทจัดซื้ออาหารเสริม สำหรับเด็กผอม จำนนวน 2 คน จำนวน 100 วัน ตั้งแต่ 18 พ.ย.63 - 26 ก.พ.64
- นมสดรสจืด จำนวน 200 กล่องๆ ละ 12 บาท 2,400 บาท - ไข่ จำนวน 200 ฟองๆ ละ 4 บาท 800 บาท ๑.๔ กิจกรรมย่อย
๑5 ส.ค. ๖3 – ๙ ก.พ.๖4 - ติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมภาวะโภชนาการ
- ติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีภาวะโภชนาเกิน(อ้วน) และเด็กที่มีภาวะโภชนการขาด (ผอม) เข้าถึงบ้าน - ติดตามพฤติกรรมผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาเกิน(อ้วน) และเด็กที่มีภาวะโภชนการขาด (ผอม) เข้าถึงบ้าน ๑.๕ กิจกรรมย่อย
- ประสานงานกับ รพ.สต.และ อสม.ประจำหมู่บ้านร่วมติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมภาวะโภชนาการ
- ติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีภาวะโภชนาเกิน(อ้วน) และเด็กที่มีภาวะโภชนาการขาด (ผอม) เข้าถึงบ้าน - ติดตามพฤติกรรมผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาเกิน(อ้วน) และเด็กที่มีภาวะโภชนาการขาด (ผอม) เข้าถึงบ้าน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 1 พฤศจิกายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กได้รับประทานอาหารเสริมนมและไข่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 3 การจัดอบรม

ชื่อกิจกรรม
การจัดอบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องภาวะโภชนนาการในเด็กปฐมวัยโดยวิทยากรจาก รพ.สต.ท่าบอน จำนวน 2 ชัวโมง ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองได้รับความรู้และเข้า เรื่องภาวะโภชนนาการในเด็กปฐมวัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 ร้อยละ 100 เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
2 ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน
3 ร้อยละ 100 เด็กมีสุขภาพดี


>