กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย อบต.ท่าบอน(อนุบาล 3 ขวบ)
รหัสโครงการ 2564-L5221-03-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)
วันที่อนุมัติ 17 กรกฎาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 26 กุมภาพันธ์ 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 มีนาคม 2564
งบประมาณ 5,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.876871,100.345267place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2563 26 ก.พ. 2564 4,000.00
2 1 ต.ค. 2563 26 ก.พ. 2564 1,200.00
รวมงบประมาณ 5,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 38 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 38 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กปฐมวัยจะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพคุณพ่อคุณแม่ผู้ประกอบอาหารจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับเด็กในอายุระหว่าง ๑ - ๖ ปี หรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก ๓ มื้อที่มีคุณค่าครบ ๕ หมู่ และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ ๒ มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ ๒ - ๓ แก้วการโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยพัฒนาการของเด็กให้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคต การเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดู สามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็กได้โดยวัดความยาวหรือส่วนสูง น้ำหนัก และวัดเส้นรอบศีรษะ เนื่องจากปัจจุบันนี้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วน โภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) จะต้องได้รับการดูแลแก้ไขพร้อมทั้งปลูกฝังส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน การพัฒนาการสมวัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

ร้อยละ ๑๐๐ เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

3.00
2 2.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย

๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน

100.00
3 ๓. ปลูกฝังส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

๓. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กมีสุขภาพดี

100.00
4 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

3.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 การจัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 2 5,200.00 2 5,200.00
15 ต.ค. 63 - 16 พ.ย. 63 จัดหาอาหารเสริม 2 4,000.00 4,000.00
26 มี.ค. 64 อบรม 0 1,200.00 1,200.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 1 0.00
15 ต.ค. 63 - 14 มี.ค. 64 การกระตุ้นพฤติกรรมออกกำลังกาย 0 0.00 0.00

1.สำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 2.สำรวจเครื่องมือในการประเมินภาวะโภชนาการ 3.เขียนโครงการขอสนับสนุนงบประมาณ 4.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 5.เสริมนม ไข่แก่เด็กมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 6.ติดตามประเมินผลภาวะโภชนาการเด็ก 7.สรุปผลและรายงานผู้บังคับบัญชา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน ๓. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กมีสุขภาพดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2563 08:23 น.