กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่สา รหัส กปท. L2623

อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเเม่สา
กลุ่มคน
ชนัญชิดา เเละคณะ
3.
หลักการและเหตุผล

การดูแลเพื่อให้เด็กมีฟันดีควรเริ่มตั้งแต่คุณแม่ตั้งครรภ์เพราะฟันน้ำนมจะมีการสร้างตั้งแต่อายุครรภ์มารดาได้ 6 สัปดาห์ และการสร้างฟันต้องการสารอาหารหลายชนิด เช่นเดียวกับการเจริญเติบโตของร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งแร่ธาตุจำพวกแคลเซียม ฟอสฟอรัส ซึ่งจะมีผลให้เคลือบฟันและเนื้อฟันมีความแข็งแรงการเอาใจใส่ดูแลรักษาอนามัยช่องปาก ขณะตั้งครรภ์ที่ดีสามารถป้องกันการเกิดปัญหาช่องปากได้ จากการสำรวจข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดปี 2562 จำนวน 25 คนพบมีเหงือกอักเสบจากหินปูน 12 คน ฟันแท้ผุ 4 คน ไม่ได้รับการรักษาทันตกรรมเนื่องจาก มาในช่วงการตั้งครรภ์ ไตรมาสที่37 คน ส่งผลให้มีฟันแท้ผุและเหงือกอักเสบจากหินปูนที่ไม่ได้รับการรักษาจากการตั้งครรภ์ 7 คน ในงานอนามัยแม่และเด็ก มีกลวิธีโดยเน้นการดำเนินงานแบบบูรณาการ กับงานส่งเสริมในคลินิกหญิงตั้งครรภ์ และคลินิกเด็กดี โดยจะเริ่มตั้งแต่ตรวจรักษาสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์ ทั้งนี้เนื่องมาจากในช่วงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพช่องปาก ได้แก่ โรคเหงือกอักเสบ โรคฟันผุ ซึ่งเชื้อโรคต่างๆในช่องปากแม่สามารถจะติดต่อไปสู่ลูกได้ทางน้ำลาย เช่น การจูบลูก การเป่าอาหาร ดังนั้นการให้ทันตสุขศึกษาในหญิงมีครรภ์รายใหม่ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การแปรงฟันที่ถูกวิธี จึงมีความสำคัญในการลดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก และการให้บริการทางทันตกรรม เช่น การถอนฟันในฟันที่ติดเชื้อ การอุดฟันที่ผุ และการขูดหินน้ำลายให้กับหญิงมีครรภ์ในช่วงอายุครรภ์ ไตรมาสที่2 (4-6 เดือน) จะเป็นการช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงมีครรภ์ที่มีการติดเชื้อในช่องปากร่วมด้วย ส่วนการดำเนินงานในคลินิกเด็กดีนั้น ความผูกพันในครอบครัวจาก พ่อ แม่ และผู้ปกครองที่ดูแลเด็ก เป็นบุคคลที่สำคัญในการสร้างพฤติกรรมการบริโภค การทำความสะอาดช่องปากที่ดีแก่เด็กและเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพที่ดี การที่เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจากเจ้าหน้าที่ และสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้องโดยที่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ได้รับทราบถึงผลการตรวจและได้รับการฝึกปฏิบัติจริง จะทำให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้อง ส่งผลให้ผู้ปกครองนำไปสอนบุตรหลานของตัวเองได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่สา เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว การส่งเสริม ป้องกันการเกิดโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ ควรดำเนินการตั้งแต่เด็กอยู่ในครรภ์มารดา ได้รับการดูแลในทุกๆด้าน แบบองค์รวม และมีการบูรณาการผ่านกระบวกการเรียนรู้ คลินิกหญิงตั้งครรภ์ และคลินิกเด็กดี ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพที่ดีทั้งทางกาย ใจ รวมไปถึงการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ซึ่งจะลดอัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้อย่างยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอดได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก ร้อยละ80
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด ได้รับทันตสุขศึกษาในเรื่องการดูเเลสุขภาพช่องปาก วิธีการเเปรงฟันที่ถูกต้อง เเละการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ของตนเองเเละบุตร
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด ได้รับทันตสุขศึกษาในเรื่องการดูเเลสุขภาพช่องปาก วิธีการเเปรงฟันที่ถูกต้อง เเละการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ของตนเองเเละบุตร ร้อยละ90
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 90.00
  • 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด ได้รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม ได้เเก่ อุดฟัน ถอนฟัน เเละขูดหินน้ำลาย
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด ได้รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม ได้เเก่ อุดฟัน ถอนฟัน เเละขูดหินน้ำลาย ร้อยละ 70
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 70.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1.ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด
    รายละเอียด

    ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด เเละนัดหมายรายที่ผิดปกติเข้ารับการดูเเลรักษาทันตสุขภาพในช่องปาก

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. 2.จัดอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด หัวข้อดังนี้ 1.การดูเเละทำความสะอาดช่องปากของตนเองเเละบุตร ,หญิงตั้งครรภ์ฝึกเเปรงฟันโดยผ่านการย้อมสีฟันเเละฝึกปฏิบัติเเปรงฟัน 2.โรคในช่องปาก 3.การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
    4.ให้ความรู้การดูเเลส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอดด้วยเเพทย์แผนไทย เช่น การนวดผ่อนคลายในหญิงตั้งครรภ์เเละการอบสมุนไพรหลังคลอด

    งบประมาณ 6,550.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเเม่สา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 6,550.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก 2.หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอดมีความรู้เเละทักษะการดูเเลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง เเละสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีให้กับตนเองเเละบุตรหลาน 3.หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอดรับบริการได้รับบริการทางทันตกรรมที่เหมาะสมสำหรับรายที่มีปัญหาด้านทันตกรรม
4.หญิงตั้งครรภ์เเละหญิงหลังคลอด มีความรู้ในการดูเเลเเละส่งเสริมสุขภาพด้วยเเพทย์แผนไทย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่สา รหัส กปท. L2623

อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่สา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่สา รหัส กปท. L2623

อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 6,550.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................