กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้น ๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิดโรคหัวใจขาดเลือดโรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อนอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานอาหารแปลกปลอม อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกัน ให้ประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ ส่วนใหญ่ร้านค้าจะเห็นประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผู้บริโภค ทำให้ได้รับสารปนเปื้อนเข้าไปสะสมในร่างกาย
ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร และเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย เกิดความรู้และนำไปถ่ายทอดสู่ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคแก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

ประชาชนมีความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร

ประชาชนมีความรู้ในการตรวจสอบฉลากอาหาร

0.00
3 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนด้วยพลังของคนในชุมชน

มีเครือข่ายสุขภาพ แกนนำ ครัวเรือน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/09/2020

กำหนดเสร็จ 25/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย รุ่นที่ 1 จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย รุ่นที่ 1 จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย  จำนวน ๕๖ คนๆละ 1 มื้อละ ๖๐ บาท             เป็นเงิน ๓,๓๖๐.- บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย จำนวน ๕๖ คนๆละ 2 มื้อละ 2๕ บาท  เป็นเงิน ๒,๘๐๐.- บาท
    • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๖ ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  ๓,๖00.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 กันยายน 2563 ถึง 23 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9760.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย รุ่นที่ 2 จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย รุ่นที่ 2 จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย  จำนวน ๕๖ คนๆละ 1 มื้อละ ๖๐ บาท             เป็นเงิน ๓,๓๖๐.- บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย จำนวน ๕๖ คนๆละ 2 มื้อละ 2๕ บาท เป็นเงิน ๒,๘๐๐.- บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๖ ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  ๓,๖00.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กันยายน 2563 ถึง 24 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9760.00

กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย รุ่นที่ 3 จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย รุ่นที่ 3 จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย  จำนวน ๕๖ คนๆละ 1 มื้อละ ๖๐ บาท             เป็นเงิน ๓,๓๖๐.- บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนแกนนำครัวเรือน คุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย จำนวน ๕๖ คนๆละ 2 มื้อละ 2๕ บาท  เป็นเงิน ๒,๘๐๐.- บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๖ ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  ๓,๖00.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 กันยายน 2563 ถึง 25 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9760.00

กิจกรรมที่ 4 ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินการตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินการตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ชุดทดสอบสารฟอกขาว จำนวน ๑ ชุดชุดละ ๔๐๐ บาท เป็นเงิน ๔๐๐ บาท
  • ชุดทดสอบสารบอแรกซ์ จำนวน ๑ ชุด ชุดละ ๔๐๐ บาท เป็นเงิน ๔๐๐ บาท
  • ชุดทดสอบสารฟอมาร์ลิน จำนวน ๑ ชุด ชุดละ ๑,๕๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท
  • ชุดทดสอบยาฆ่าแมลง   จำนวน ๑ ชุด ชุดละ ๗๕๐ บาท เป็นเงิน ๗๕๐ บาท
  • ชุดทดสอบสารโคลิฟอร์ม จำนวน ๑ ชุด ชุดละ ๑,๒๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท
  • ชุดทดสอบสเตรียรอยในเครื่องสำอาง   จำนวน ๑ ชุด ชุดละ ๑,๐๐๐  บาท        เป็นเงิน ๑,๐๐๐  บาท
  • ชุดทดสอบสารกันรา  จำนวน ๑ ชุด ชุดละ ๔๐๐ บาท  เป็นเงิน ๔๐๐ บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการฝึกอบรม ขนาด 1.2*2.4 เมตร 1 แผ่นๆละ  576 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 กันยายน 2563 ถึง 25 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6226.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,506.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ร้อยละ 80
2. ประชาชนมีความรู้ในการตรวจสอบฉลากอาหาร
๓. มีเครือข่ายสุขภาพ แกนนำ ครัวเรือน


>