กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการเกษตรกรปลอดโรค ชุมชนรวมใจสร้างสุขภาพดีด้วยวิถีไทย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจำปาดง อำเภอวานรนิวาสจังหวัดสกลนคร

นายบุญชง บังพะจาร

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจำปาดง อำเภอวานรนิวาสจังหวัดสกลนคร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

1.. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชร้อยละ

80.00 1.00
2 2. เพื่อตรวจคัดกรองเกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อสารกำจัดศัตรูพืช และให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา

2.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจเลือดหาสารโคลีนเอสเตอร์เรส พบว่าผลเลือดมีความเสี่ยง และไม่ปลอดภัย ได้รับคำแนะนำและการรักษาโดยสมุนไพร ร้อยละ

100.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/03/2020

กำหนดเสร็จ 02/04/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.อบรมให้ความรู้ 2.ตรวจสารเคมีในเลือด

ชื่อกิจกรรม
1.อบรมให้ความรู้ 2.ตรวจสารเคมีในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำโครงการและขออนุมัติงบประมาณ
  2. ประสานงานเครือข่ายและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชุมเตรียมความพร้อมและวางแผนการและมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลกุดเรือคำ จำนวน 26,050บาท รายละเอียดดังนี้
  4. ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารกลางวันและเครื่องดื่มจำนวน 40 คนๆละ 50 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท
  5. ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 40 คนๆละ 25 บาท/มื้อจำนวน 4 มื้อ เช้า/บ่ายเป็นเงิน 4,000 บาท
  6. ค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละ300 บาทจำนวน 12 ชั่วโมงเป็นเงิน 3,600บาท
  7. ค่าป้ายโครงการขนาด 1.5x2 เมตร 1 ป้ายเป็นเงิน 450 บาท
  8. กระโจมอบสมุนไพร จำนวน 2 อัน อันละ 1,500 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท
    1. สมุนไพรรางจืด(ชาชง)จำนวน 300 ซอง ซองละ 5 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท
    2. ชุดทดสอบโคลีนเอสเตอเรสในเลือด ชุดละ 1,500 บาท จำนวน 2 ชุด เป็นเงิน 3,000 บาท
    3. ผงยาอบสมุนไพรจำนวน 10 กิโลกรัมกิโลกรัมละ 250 บาทเป็นเงิน 2,500 บาท
    4. เมนทอล จำนวน 1 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 1,500 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท
    5. การบูรจำนวน 1 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 1,500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    6. พิมเสนจำนวน 1 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 26,050 บาท(สองหมื่นหกพันห้าสิบบาทถ้วน)
      หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มีนาคม 2563 ถึง 2 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  2. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. เกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อสารกำจัดศัตรูพืช ได้รับให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26050.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
2. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
3. เกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อสารกำจัดศัตรูพืช ได้รับให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา


>