กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ

พื้นที่ให้บริการของ รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ม.๑ , ม.๕ , ม.๖ และม.๑๒ ต.โคกสัก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย เป็นโรคติดต่อซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า๑๕ ปีในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลายลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุ และขยะที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด
พื้นที่ตำบลโคกสัก โดยเฉพาะในพื้นที่ให้บริการของรพ.สต.บ้านหนองบ่อ ๔ หมู่บ้าน เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออก จากข้อมูล ๕ ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากรตามลำดับดังนี้๖๑.๐๕, ๑๔๙.๓๙, ๕๘.๔๑, ๘๖.๕๐และ๑๑๓.๗๓ ค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี เท่ากับ ๙๓.๙๔ ต่อแสนประชากร
ในปี ๒๕๖๓ มีรายงานจำนวนผู้ป่วย ตั้งแต่ ๑ มค. ๒๕๖๓ - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จำนวน ๗ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑๙๘.๓๐ โดยพบในหมู่ที่ ๑ จำนวน ๑ ราย , หมู่ที่ ๕ จำนวน ๕ ราย รวมจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๗ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๒๖.๖๓ ต่อแสนประชากร ซึ่งอัตราป่วยเกินค่ามัธยฐานย้อนหลัง๕ ปีถือว่ามีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ประกอบกับการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน วัดและโรงเรียน ที่เกิดโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๓พบว่า ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย(HI) เดือน พฤษภาคม - มิถุนายน มากกว่าร้อยละ ๒๐ และค่า CIมากกว่าร้อยละ ๑๐ ซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

๑.๑  ทุกครัวเรือนในเขตให้บริการ ๔ หมู่บ้าน ค่าดัชนีลูกน้ำยุงยาย ค่า HI ≤ ๑๐               ๑.๒ โรงเรียน จำนวน ๓ โรง , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๒ ศูนย์ และวัด จำนวน ๑ แห่ง มีค่าดัชนีลูกน้ำยุง CI = ๐

0.00
2 ๒. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ให้เหลือไม่เกินค่ามัฐยฐานย้อนหลัง ๕ ปี

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,850
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 21/09/2020

กำหนดเสร็จ 30/11/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑ แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ

ชื่อกิจกรรม
๑ แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 กันยายน 2563 ถึง 21 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

70 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ๒.ประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการแก่คณะทำงาน และประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
๒.ประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการแก่คณะทำงาน และประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กันยายน 2563 ถึง 24 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

70 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2470.00

กิจกรรมที่ 3 ๓.จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก ๕ ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม

ชื่อกิจกรรม
๓.จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก ๕ ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 สิงหาคม 2563 ถึง 26 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

280 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14200.00

กิจกรรมที่ 4 ๔ คณะทำงานออกรณรงค์ตามโครงการ และตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ ๑ เพื่อค้นหาข้อดีของการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมพร้อมจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของสมาชิกในครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
๔ คณะทำงานออกรณรงค์ตามโครงการ และตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ ๑ เพื่อค้นหาข้อดีของการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมพร้อมจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของสมาชิกในครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 กันยายน 2563 ถึง 28 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

900 หลังคาเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
46580.00

กิจกรรมที่ 5 ๕ ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ ๒ เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมของทุกครอบครัว และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
๕ ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ ๒ เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมของทุกครอบครัว และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 ตุลาคม 2563 ถึง 21 ตุลาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

900 หลังคาเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3500.00

กิจกรรมที่ 6 ๖ ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ ๓ เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมของทุกครอบครัว และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
๖ ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ ๓ เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมของทุกครอบครัว และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 พฤศจิกายน 2563 ถึง 21 พฤศจิกายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

900 หลังคาเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 70,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑ อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง ๓ ปี
๒. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
๓ ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ


>