กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง รหัส กปท. L3414

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมไอโอดีนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวัดพร้าว
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มคน
กลุ่มหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอด
1. นางฉลาด ลอประเสริฐ
2. นางบุญธรรม จ้อยสุดใจ
3. นางสาวจันทิมา จันทร์เชื้อ
4. นางน้ำผึ้ง อยู่รอด
5. นางสาวสายฝน อยู่มนเทียน
3.
หลักการและเหตุผล

โรคขาดสารไอโอดีนเป็นปัญหาสาธารณสุขทางด้านโภชนาการที่สำคัญเป็นต้นเหตุที่พบมากที่สุดภาวะปัญญาอ่อนซึ่งป้องกันได้พบได้ในทุกกลุ่มอายุแต่จะมีผลร้ายแรงชัดเจนในทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนอายุ2 – 3ปีโดยมีผลลดความเฉลียวฉลาดหรือไอคิวของเด็กได้ถึง 10-15 จุด ซึ่งมีผลกระทบต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยปกติร่างกายต้องการสารไอโอดีนทุกวันวันละ100 -150 ไมโครกรัมในส่วนของหญิงมีครรภ์หากขาดสารไอโอดีนจะทำให้ทารกตายตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือแท้งหรือพิการตั้งแต่กำเนิดเด็กที่เกิดจากแม่ที่ขาดสารไอโอดีนมีโอกาสที่จะเป็นปัญญาอ่อนเป็นใบ้ช่วยตัวเองไม่ได้กลายเป็นเด็กเอ๋อ ส่วนในเด็กวัยเรียนที่ขาดสารไอโอดีนจะส่งผลให้เรียนรู้ช้าเฉื่อยชาเป็นคอพอกเพราะสารไอโอดีนมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาสมองทารกที่อยู่ในครรภ์ต้องการสารไอโอดีนจากมารดาในการเพิ่มจำนวนและขนาดเซลล์สมองและช่วยโครงข่ายประสาทที่ต่อเชื่อมถึงกันสร้างปลอกหุ้มเซลล์ใยประสาทอย่างต่อเนื่องส่วนในวัยผู้ใหญ่หากขาดสารไอโอดีน จะทำให้เป็นคนเซื่องซึมเฉื่อยชาประสิทธิภาพการทำงานลดลง
ดังนั้นกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลวัดขวางได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริมการใช้ไอโอดีนในเด็กก่อนวัยเรียน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมไอโอดีนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวัดพร้าวขึ้น เพื่อส่งเสริมให้มีการบริโภคอาหารเสริมไอโอดีนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวัดพร้าวและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องประโยชน์ของสารไอโอดีนและสามารถทำอาหารเสริมไอโอดีนให้แก่เด็กก่อนวัยเรียนได้เพื่อลดปัญหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในชุมชนอย่างจริงจัง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(คน)
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 15.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 14.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงคลอดได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอด(คน)
    ขนาดปัญหา 18.00 เป้าหมาย 16.00
  • 4. เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (คน)
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 5. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
    ตัวชี้วัด : จำนวนแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน(คน)
    ขนาดปัญหา 22.00 เป้าหมาย 22.00
  • 6. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีด(คน)
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 7. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม(คน)
    ขนาดปัญหา 2090.00 เป้าหมาย 1343.00
  • 8. เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
    ขนาดปัญหา 5.00 เป้าหมาย 5.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องส่งเสริมการใช้ไอโอดีน ประโยชน์ของไอโอดีน และสาธิตการทำอาหารเสริมให้ไอโอดีนให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร
    รายละเอียด

    วิธีดำเนินการ 1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย 2. ติดต่อประสานงานวิทยากรและจัดเตรียมอุปกรณ์ในการอบรม
    3. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องส่งเสริมการใช้ไอโอดีน ประโยชน์ของไอโอดีน และสาธิตการทำอาหารเสริมให้ไอโอดีนให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร 4. ติดตามและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

    งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวัดขวาง จำนวน  8,560 บาท  รายละเอียด  ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องส่งเสริมการใช้ไอโอดีน ประโยชน์ของไอโอดีน และสาธิตการทำอาหารเสริมให้ไอโอดีนให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร     เป้าหมาย  คือ ผู้ปกครองเด็ก ครูดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร จำนวน  54 คน
        - ค่าอาหารกลางวัน มื้อ จำนวน  54  คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 วัน  เป็นเงิน 2,700  บาท     - อาหารว่างและเครื่องดื่ม  2 มื้อ จำนวน 54 คน คนละ 25 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 2,700 บาท     - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
        - ค่าวัสดุ
        * ป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 360  บาท     * ค่าวัสดุทำอาหารสาธิตเสริมไอโอดีน 
          1. เมนูไข่ตุ๋นเสริมไอโอดีน  500  บาท  2. เมนูผักแปลงร่างเสริมไอโอดีน  500  บาท

    งบประมาณ 8,560.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลวัดขวาง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 8,560.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจในประโยชน์ของสารไอโอดีนและอันตรายจากการขาดสารไอโอดีน 2.เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวัดพร้าวได้รับการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบหลักจากเกลือเสริมไอโอดีน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง รหัส กปท. L3414

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง รหัส กปท. L3414

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 8,560.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................