2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
จากปีงบประมาณ2563 ที่ผ่านมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแบงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้านภาวะโภชนาการขึ้นหลังจากทำโครงการพบว่าเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการจำนวน 25 คน นั้นทางศูนย์สามารถแก้ปัญหาเด็กเหล่านี้ได้เป็นผลสำเร็จ จำนวน22 คน แต่ยังคงเป็นปัญหาอีก 3 คน ซึ่งสาเหตุของการแก้ปัญหาไม่สำเร็จเนื่องจากเด็กบางคนมีภาวะเตี้ยหรือผอมมากจนเกินไป, ระยะเวลาในการจัดทำโครงการสั้นเกินไป และในภาคเรียนที่ 2/2563 พบเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการเพิ่มอีก 6 คน และมีภาวะเสี่ยงผอมจำนวน 5 คน รวมเป็น 14 คน โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เด็กไม่ได้รับประทานอาหารเช้า เนื่องจากเด็กบางคนไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ พ่อแม่ไปทำงานต่างจังหวัดรวมทั้งปัญหาครอบครัวพ่อแม่แยกกันอยู่
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแบงจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้านภาวะทุกโภชนาการขึ้นเป็นปีที่ 2 เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาที่ไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ในปีแรกได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่องและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนให้มีน้ำหนัก -ส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วนเติบโตเต็มศักยภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรงต่อไปในอนาตค อันจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 25/02/2021
กำหนดเสร็จ 30/09/2021
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. เด็กมีปัญหาได้รับการแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง
2. เด็กที่มีกลุ่มเสี่ยงลดการเกิดปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
3.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการที่สมส่วนของเด็กในวัยเรียน
4. เด็กทุกคนมีภาวะโภชนาการที่สมส่วน
5. มีเล่มรายงานจำนวน 2 เล่ม