กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ 4 กลุ่มโรคกระทบการเรียนเด็กไทย ประจำปี 2564
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
กลุ่มคน
นางมัสนีและตำแหน่งนักจิตวิทยาปฏิบัติการ โทร 086-9621377
นางดาวดือราโอ๊ะตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทร 089-9730969
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช อาจส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก ทำให้ไอคิวไม่ถูกพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพที่ผ่านมาเวลาวัดไอคิวเด็กไทยจะเห็นว่าไม่ดีอย่างที่ควรจะเป็นสาเหตุหนึ่งเป็นเพราะเด็กมีปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชโดย4โรคหลัก 1. ปัญหาสติปัญญาบกพร่องเป็นกลุ่มเด็กที่มีสติปัญญาต่ำกว่า 70 มักจะรู้ก่อน 6 ขวบพบได้ประมาณ 1% 2. ออทิสติก พบได้ประมาณ 1-2 คนใน 1,000 คน 3. สมาธิสั้น พบได้ประมาณ 5-10% 4. ความบกพร่องในการเรียนรู้หรือแอลดี พบได้ประมาณ 5-10% เช่นกัน เด็กที่มีปัญหาสมาธิสั้นกว่าครึ่ง มักพบร่วมกับแอลดี ดังนั้นจะเห็น 4 โรคนี้แทรกอยู่ในเด็กมากมายในวัยเรียน อายุ 6-12 ปี สำหรับเด็กที่สติปัญญาบกพร่อง และเด็กออทิสติก เป็นโรคที่ปรากฏให้เห็นได้เร็ว ดูออกเร็วตั้งแต่อายุน้อย และได้รับการช่วยเหลือตั้งแต่ต้นทาง แต่ก็ยังมีบางส่วนหลุดรอดการคัดกรองมาได้ เพราะเด็กบางคนอาการไม่เห็นชัด ถ้าอยู่ในระบบการศึกษา ครูอาจจะไม่เข้าใจ ทำให้เด็กถูกดูแลอย่างไม่เหมาะสม แต่ 2 โรคหลังจะเห็นชัดในวัยเรียน คือ เด็กสมาธิสั้นกับแอลดี ซึ่งในบางครั้งเด็กอายุ 3-4 ขวบ ยังไม่แสดงอาการที่ทำให้เห็นเด่นชัด ทำให้วินิจฉัยโรคไม่ได้ ซึ่งต้องเฝ้าระวังพ่อแม่และคุณครู อาจไม่ทราบว่าเด็กมีความผิดปกติ ทำให้เด็กเข้าสู่ระบบการเรียนเหมือนเด็กปกติทั่วไป และเมื่อไปเรียนกับเด็กปกติทั่วไป ตัวโรคที่เดกเป็น ทำให้เด็กมีความแปลกแยกจากเด็กอื่น ถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเด็กดื้อ เด็กซน เด็กไม่สนใจเรียน ไม่ได้เรื่องซึ่งกลุ่มที่เราให้ความสำคัญในเด็กวัยเรียน คือ เด็กสมาธิสั้นและแอลดี แต่ก็ช่วยกรองอีก 2 โรคคือ เด็กสติปัญญาบกพร่องและออทิสติก จากการดำเนินงานที่ผ่านมาในช่วงปี 2559 ถึงปัจจุบันจำนวนนักเรียนที่ส่งมาคัดกรอง ในปี 2559 จำนวนเด็กที่ส่งมาคัดกรอง 63 คน พบมีความเสี่ยง 34 คน ปี 2560 ส่งมาคัดกรอง 129 คน พบมีความเสี่ยง 59 คน ปี 2561 ส่งมาคัดกรอง 97 คน พบมีความเสี่ยง 82 คน ปี 2562 ส่งมาคัดกรอง 82 คน พบมีความเสี่ยง 30 คน จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าพบเด็กที่มีความเสี่ยงเป็นจำนวนค่อนข้างมาก ดังนั้นกลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหานี้ จึงจัดทำโครงการ 4 กลุ่มโรคกระทบการเรียนเด็กไทย เพื่อให้คุณครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่งต่อเด็กที่มีปัญหาได้อย่างเหมาะสมต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรค
    ตัวชี้วัด : ผู้ดุแลเด็กมีความรู้มากขึ้นร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 75.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลเด็กสามารถส่งต่อและเข้าถึงบริการมากขึ้นร้อยละ 75
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 75.00
  • 3. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลเด็กสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้มากขึ้นร้อยละ 75
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 75.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ 4 กลุ่มโรคกระทบการเรียนเด็กไทย
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย
    - ครูหรือผู้ดูแลเด็ก 30 คน (โรงเรียนเทศบาล 1-4,โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก,โรงเรียนรังผึ้ง,โรงเรียนบุณยลาภฯ)
    - คณะทำงาน 7 คน รวม 37 คน
    รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
    - ประชุมคณะทำงาน
    - ประสาน พญ.จรีภรณ์จินต์ปัญญกุล ตำแหน่งจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ประจำโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์มาเป็นวิทยากรในโครงการ
    - อบรมเชิงปฏิบัติการ 4 กลุ่มโรคกระทบการเรียนเด็กไทย ระยะเวลาการอบรม 1 วัน
    กำหนดการ ดังนี้
    08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน/ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม
    08.30 - 09.00 น. พิธีเปิดโดยนายแพทย์บรรยงเหล่าเจริญสุข ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
    09.00 - 10.30 น.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 4 กลุ่มโรคของเด็ก
    10.30 - 12.00 น.การใช้คู่มือเพื่อช่วยเหลือเด็ก
    12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
    13.00 - 14.00 น. การใช้คู่มือเพื่อช่วยเหลือเด็ก
    14.00 - 16.00 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือช่วยเหลือเด็ก
    16.00 - 16.30 น. ทำแบบทดสอบหลังการอบรม/สรุปประเด็นปัญหา
    หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.30 น.และ 14.30 น.
    ค่าใช้จ่าย ดังนี้
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 37 คน x 2 มื้อ = 1,850 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 37 คน =1,850 บาท
    3. ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท/ชม. x 6 ชม. = 3,600 บาท
    4. ค่าวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม = 2,900 บาท

    งบประมาณ 10,200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,200.00 บาท

หมายเหตุ : ขอถัวทุกรายการและจำนวนคนภายในวงเงินที่ได้รับ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรค
  2. ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
  3. ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................