กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ

1 นางสาวนูรีซันฮาแว
2 นางอายูซะมะมิง
3 นางสาวอัมรานีแมเราะ
4 นางอายียะดอแม
5 นายอับดุลยาเลย์ยูโซ๊ะ

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาเรื้อรังในชุมชน ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งด้านสุขภาพเศรษฐกิจ และด้านสังคมที่เกิดจาก การขาดความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมไข้เลือดออกจากภาคสังคมอื่นๆและชีวะนิสัยของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคของโรคไข้เลือดออกรวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆที่ก่อให้เกิดการระบาดของโรคโดยพบว่ายุงลายมีการวางไข่และขยายพันธ์ได้ตลอดทั้งปีซึ่งยุงลายตัวเมียผสมพันธ์เพียงครั้งเดียว สามารถวางไข่ได้ครั้งละมากๆตลอดชีวิตและเชื้อโรคไข้เลือดออกสามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์จากแม่ยุงลายสู่ไข่และลูกยุงลายได้รวมถึงการติดต่อจากคนสู่คนโดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค หากไม่มีการควบคุมป้องกันโรคที่ดีก็จะทำให้เกิดโรคนี้ขึ้นและจะแพร่ระบาดไปอย่างรวดเร็ว
ตำบลกะลุวอที่อยู่ในความดูแลขององค์การบริการส่วนตำบลกะลุวอมีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 8หมู่บ้านจากข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยไข้เลือดออกกะลุวอ6 ปีย้อนหลังตั้งแต่ปี 2554 - 2560พบว่าอัตราป่วยเพิ่มขึ้นซึ่งแนวโน้มจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆไม่จำกัดอายุ ปีที่พบมีการระบาดมากที่สุดคือปี 2560
ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.กะลุวอจึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ปี 2564 ขึ้นเพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์และดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 20% เทียบกับปีที่ผ่านมา

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 20% เทียบกับปีที่ผ่านมา

70.00 20.00
2 เพื่อป้องกันอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน

อัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนลดลง

20.00 0.00
3 สร้างความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

เกิดความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

60.00 100.00
4 เพื่อควบคุมค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

สามารถควบคุมค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

50.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,571
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมทื่ 1 กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทื่ 1 กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม 1.  ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ องค์การบริการส่วนตำบล ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชนในชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2.  ประชาสัมพันธ์โครงการรณรงค์พร้อมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยใช้หอกระจายข่าว และเสียงตามสายในหมู่บ้าน 3.  อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 4.  ประสานงานกับหน่วยงาน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 5.  ประชาสัมพันธ์และเดินรณรงค์พร้อมให้ความรู้แก่กับประชาชนในเขตพื้นที่ 6.  พ่นสารเคมีกำจัดตัวแก่ยุงลาย ในช่วงฤดูกาลระบาด จำนวนทั้ง  8  หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลกะลุวอ 7.  พ่นเมื่อเกิดโรคระบาดในแต่ละหมู่บ้าน งบประมาณ - น้ำยาพ่นละเอียด  จำนวน 4ขวด ×1,650 บาท       เป็นเงิน 6,600 บาท - ทรายอะเบกชนิดเม็ด 23 แผงๆละ100บาท เป็นเงิน 2,300 บาท - ค่าน้ำมันเบนซิน  150 ลิตร×30  บาท เป็นเงิน  4,500  บาท
- ค่าน้ำมันโซล่า 50 ลิตร×25  บาท เป็นเงิน 1,250  บาท - ป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 23 จำนวน  5 ป้าย × 1,200 บาท เป็นเงิน  6,000  บาท - ป้ายโครงการ ขนาด 1.51 จำนวน  1 ป้าย × 600 บาท เป็นเงิน  600  บาท - ค่าตอบแทนผู้พ่นสารเคมี  2 คน ×  300 บาท  ×  15  วัน   เป็นเงิน  9,000  บาท (บ้านยาบี, บ้านกำแพง, บ้านรอตันบาตู, บ้านจาเราะสะโต, บ้านกูแบสาลอ, บ้านโคกศิลา  2  วัน  และบ้านกาโมแร,  บ้านกาแนะ   1 วัน                                           รวมทั้งสิ้น   30,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย มีลูกน้ำยุงลายในอัตราที่น้อยลง และยุงตัวเต็มวัยได้รับการกำจัด
  2. ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอไม่เจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  3. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30250.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมควบคุมโรคในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมควบคุมโรคในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม 1. ประสานงาน หน่วยงานกับคณะครู นักเรียน อสม. เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์การรณรงค์พร้อมให้ความรู้แก่นักเรียน โดยใช้ระบบเสียงตามสายในโรงเรียนและประสานทางวัดได้รับทราบ 3. รณรงค์พ่นสารเคมีกำจัดตัวแก่ยุงลาย ในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน ในโรงเรียน 7 โรง วัด 2 แห่งและมัสยิด 10 แห่งอสม. นักเรียนสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุกสัปดาห์ พร้อมใส่ทรายอะเบท ในภาชนะกักเก็บน้ำ งบประมาณ - ค่าน้ำมันเบนซิน 230 ลิตร × 30บาท
เป็นเงิน 6,900บาท - ค่าน้ำมันโซล่า 70 ลิตร ×25บาท เป็นเงิน 1,750บาท - ค่าตอบแทนผู้พ่นสารเคมี 2 คน× 300 บาท × 19 วัน × 2 ครั้ง เป็นเงิน22,800บาท รวมทั้งสิ้น 31,450บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย มีลูกน้ำยุงลายในอัตราที่น้อยลง และยุงตัวเต็มวัยได้รับการกำจัด
  2. ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอไม่เจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  3. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31450.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาด สำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย จำนวน 8 หมู่บ้านๆละ 3 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาด สำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย จำนวน 8 หมู่บ้านๆละ 3 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม 1.  ประสานงาน หน่วยงาน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2.  ประชาสัมพันธ์การรณรงค์พร้อมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตตำบลกะลุวอ
3.  เจ้าหน้าที่อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพราะพันธ์ยุ่งลาย 4.  จัดหาทรายอะเบทพร้อมพ้นสารเคมีกำจัดยุงลายและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพี่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการ งบประมาณ -รพ.สต.กะลุวอ -ไบกอน 6 ลังๆละ 750 เป็นเงิน 4,500 บาท -.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม  151 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 3 วัน
เป็นเงิน  22,650 บาท -ค่าอาหารกลางวัน   จำนวน 151 คนๆละ 1 มื้อๆละรวม 50 บาท จำนวน 3 วัน
เป็นเงิน  22,650 บาท (วันที่ 6 พ.ค.,1 มิ.ย.และ 3 ก.ค. 2563 บ้านยาบี  เจ้าหน้าที่ 6 คน ผู้นำศาสนา 5 คน อสม. 24 คน) (วันที่ 7 พ.ค.,8 มิ.ย.และ 10 ก.ค. 2563บ้านกำแพง  เจ้าหน้าที่ 6 คน ผู้นำศาสนา 5 คน อสม. 19 คน) (วันที่ 13 พ.ค.,15 มิ.ย.และ 17 ก.ค. 2563บ้านกาแนะ  เจ้าหน้าที่ 6 คน ผู้นำศาสนา 5 คน    อสม. 14 คน) (วันที่ 17 พ.ค.,22 มิ.ย.และ 24 ก.ค. 2563บ้านรอตันบาตู  เจ้าหน้าที่ 6 คน ผู้นำศาสนา 5 คน    อสม. 31 คน) (วันที่ 27 พ.ค.,29 มิ.ย.และ 31 ก.ค. 2563บ้านกาโมแร  เจ้าหน้าที่ 6 คน ผู้นำศาสนา 5 คน    อสม. 8 คน) รวมทั้งสิ้น  49,800 บาท

-รพ.สต.บ้านโคกศิลา -ไบกอน 6 ลังๆละ750 เป็นเงิน 4,500 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม  107 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 3 วัน
เป็นเงิน  16,050 บาท -ค่าอาหารกลางวัน   จำนวน 107 คนๆละ 1 มื้อๆละรวม 50 บาท จำนวน 3 วัน
เป็นเงิน  16,050 บาท (วันที่ 10 มิ.ย, 8 ก.ค.และ 8 ก.ย. 2563  บ้านกูแบสาลอ  เจ้าหน้าที่ 5 คน ผู้นำศาสนา 10 คน อสม. 21 คน) (วันที่ 17 มิ.ย,15 ก.ค.และ 15 ก.ย. 2563  บ้านจาเราะสะโต  เจ้าหน้าที่ 5 คน ผู้นำศาสนา 10 คน อสม. 22 คน) (วันที่ 24 มิ.ย,22 ก.ค.และ22 ก.ย.2563  บ้านโคกศิลา เจ้าหน้าที่ 5 คน ผู้นำศาสนา10 คน    อสม. 19 คน) รวมทั้งสิ้น 36,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย มีลูกน้ำยุงลายในอัตราที่น้อยลง และยุงตัวเต็มวัยได้รับการกำจัด
  2. ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอไม่เจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  3. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
86400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 148,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย มีลูกน้ำยุงลายในอัตราที่น้อยลง และยุงตัวเต็มวัยได้รับการกำจัด
2. ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอไม่เจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
3. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก


>