กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนรุ่นใหม่ใส่ใจรักความสะอาดเยาวชนหัวสะพาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

เยาวชนหัวสะพาน

1. นายตารมีซี มิงการี (0864649810)
2. นายสมาน ยะปา (0635388400)
3. นายอับดุลเราะมาน มะแซ (0873962190)
4. นายปาริ วาเต๊ะ (0992050665)
5. นายบัยฮากิม สะแลแม (0830963807)

ชุมชนหัวสะพาน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การกำจัดขยะในชุมชนไม่เป็นระเบียบ ทิ้งขยะโดยไม่แยกประเภท

 

50.00
2 เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงเกิดจากมีน้ำขังในคูระบายน้ำ

 

50.00

ปัจจุบันปริมาณขยะมีแต่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเกิดจากปริมาณประชากรที่เพิ่มอีกทั้งพฤติกรรมของปะชาชนที่ไม่ค่อยเห็นความสำคัญของการทิ้งขยะที่ถูกต้องจึงทำให้สภาพแวดล้อมของชุมชนตลอดจนครัวเรือนมีขยะจากอุปโภคเพิ่มขึ้น ทำให้มีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม สกปรก ส่งกลิ่นเหม็น เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค การแก้ปัญหาเหล่านี้ จะต้องเริ่มต้นจากเด็กและเยาวชน จากครัวเรือนสู่สังคม ดังนั้นจึงอยากให้มีความรู้ความเข้าใจเห็นความสำคันของปัญหาขยะ โดยการแยกขยะ การจักการขยะที่ถูกและเห็นประโยชน์จากขยะ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของปัญหาขยะในชุมชนและครัวเรือน

ทำให้ชุมชนสะอาด

50.00 60.00
2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้องและตระหนักถึงปัญหาโรคทีจะตามมากับขยะ

เด็กและเยาวชนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้องปราศจากโรคที่มากับขยะ

50.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/01/2021

กำหนดเสร็จ 11/01/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ควารู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและโรคที่มากับขยะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ควารู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและโรคที่มากับขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ดังนี้
1. ประสานวิทยากรให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและโรคที่มากับขยะ
2. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในโครงการ
3. จัดเตรียมสถานที่ที่ใช้ในการอบรม
งบประมาณ ดังนี้
1. ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท × 4 ชม. = 2,400 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท × 50 คน = 2,500 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม 25 บาท × 50 คน × 2 มื้อ = 2,500 บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม -ค่าสมุดปกอ่อน 15 บาท × 50 คน = 750 บาท
-ค่าปากกา 7 บาท × 50 คน = 350 บาท
5. ค่าป้ายไวนิลโครงการ = 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มกราคม 2564 ถึง 11 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการกำจัดขยะที่ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9700.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม Big Cleaning Day ในชุมชนหัวสะพาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม Big Cleaning Day ในชุมชนหัวสะพาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ดังนี้
1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการทำความสะอาด เช่น ไม้กวาดทางมะพร้าวถุงขยะ ถุงมือ เป็นต้น 2. ระดมคนในชุมชน เด็กและเยาวชนของชุมชนหัวสะพาน มาช่วยกันทำความสะอาดบริเวณชุมชน ลอกคูคลองต่างๆ เพื่อลดแหลางเพาะพันธ์ของลูกน้ำยุงลาย และร่วมกันทำความสะอาดบาลาเซาะในชุมชน
งบประมาณ ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม 25 บาท × 50 คน = 1,250 บาท
2. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการรณรงค์ - ไม้กวาดทางมะพร้าว 6 ด้ามๆละ 70 บาท = 420 บาท
- ถุงมือ ถุงขยะดำ = 1,000 บาท - ถังขยะแยกประเภทขนาด 120 ลิตรจำนวน 8 ถังๆละ 1,600 บาท = 12,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มกราคม 2564 ถึง 11 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้ชุมชนมีความสะอาดมากขึ้น ลดแหล่งเพาะพันธ์โรคติดต่อต่างๆ และโรคที่มากับขยะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15470.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,170.00 บาท

หมายเหตุ :
สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กและเยาวชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของปัญหาขยะในชุมชนและครัวเรือน
2. เด็กและเยาวชนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้องและตระหนักถึงปัญหาโรคที่มากับขยะ


>