กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ตำบลสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ปี 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ตำบลสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ทีมการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

1. น.ส.พวงเพชร จันทร์ประไพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษเบอร์โทรศัพท์ 083-1841864
2. น.ส.กิรณา อรุณแสงสด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการเบอร์โทรศัพท์ 096-0251595
3. น.ส. นุชนารถศรีสุวรรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการเบอร์โทรศัพท์ 084-8906624
4. นางเพ็ญนภามะหะหมัด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการเบอร์โทรศัพท์ 083-1925119

ห้องราชพฤกษ์ ชั่น 4 อาคารอุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละผู้ป่วยระยะท้ายในเขตตำบลสุไหงโกลกได้รับการดูแลแบบประคับประคอง

 

80.00
2 ร้อยละผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย

 

80.00
3 ร้อยละผู้ป่วยระยะท้ายในเขตตำบลสุไหงโกลกได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

 

80.00
4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยระยะท้ายและญาติ

 

80.00

องค์การอนามัยโลก (WHO) ให้คำจำกัดความของการดูแลรักษาแบบประคับประคอง เป็นวิธีการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคที่รักษาไม่หาย โดยให้การป้องกัน บรรเทาอาการ ตลอดจนการบรรเทาความทุกข์ทรมานด้านต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เป็นการดูแลแบบองค์รวมครอบคลุมทุกมิติของสุขภาพ ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม องค์การอนามัยโลก พบว่า แต่ละปีทั่วโลกจะมีผู้ป่วยระยะสุดท้ายราวๆ 40 ล้านคน ที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคอง ในจำนวนนี้มีถึง 78% ที่อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 40 ล้านคนทั่วโลก มีเพียง 14% เท่านั้น ที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง จากการดำเนินงาน การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกปี 2563 จำนวน 70 คน พบผู้ป่วยระยะท้ายในเขตตำบลสุไหงโกลกได้รับการดูแลแบบประคับประคองร้อยละ 81 ผู้ป่วยระยะท้ายในเขตตำบลสุได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ร้อยละ 70 ซึ่งไม่ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
ดังนั้น ปี พ.ศ.2564ทีมการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ตำบลสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการและความครอบคลุมในการได้รับการดูแลแบบประคับประคองด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลการดูแลแบบประคับประคองในเขตตำบลสุไหงโกลกให้มีประสิทธิภาพ

ร้อยละผู้ป่วยระยะท้ายในเขตตำบลสุไหงโกลกได้รับการดูแลแบบประคับประคอง

81.00 85.00
2 เพื่อเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่,อสมผู้นำชุมชนในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน

ร้อยละผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย

80.00 85.00
3 เพิ่มความครอบคลุมในการคันหาผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน

ร้อยละผู้ป่วยระยะท้ายในเขตตำบลสุไหงโกลกได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

70.00 85.00
4 เพื่อส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ทั้งเครือข่าย

ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยระยะท้ายต่อการดูแลแบบประคับประคอง

80.00 85.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รุ่นที่ 1
- ค่าวิทยากรแก่กลุ่มเป้าหมาย 600บ.x 6 ชมx 1 วัน = 3,600 บาท - ค่าวิทยากรกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน X 300 บาท X 5 กลุ่ม X3 ชม.x 1 วัน = 4,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 50 บาทx 1 มื้อ x 70 คน x 1 วัน= 3,500 บาท
- ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 70 คน x 2 มื้อ x 1 วัน = 3,500 บาท - ค่าวัสดุ 1,000 บาท - ค่าถ่ายเอกสาร 3,000 บาท รุ่นที่ 2
- ค่าอาหารกลางวัน 50 บาทx 1 มื้อ x 65 คน x 1 วัน = 3,250 บาท
- ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 65 คน x 2 มื้อ x 1 วัน = 3,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและสามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีคุณภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25600.00

กิจกรรมที่ 2 จัดระบบการให้บริการเยี่ยมบ้านประชุมทีมสหวิชาชีพและเครือข่ายติดตามการดูแลอย่างต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
จัดระบบการให้บริการเยี่ยมบ้านประชุมทีมสหวิชาชีพและเครือข่ายติดตามการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทน อสม.ลงเยี่ยมบ้าน 50 บาท x 2 คนx 12 เคส X 3 ครั้งเป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่า Siring ให้ยามอร์ฟินแก้ปวดที่บ้าน จำนวน 20 เครื่อง x 500 บาทเป็นเงิน 10,000 บาท
  • แถ้งท์ออกซิเจนแท้งก์ใหญ่ครบชุด 2 ถังๆ ละ 10,000บาทเป็นเงิน 20,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยระยะท้ายและญาติได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33600.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทีมสหสาขาวิชาชีพ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทีมสหสาขาวิชาชีพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 10 คน  x 3 ครั้ง  = 750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยระยะท้ายและญาติเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคองได้รวดเร็วและครอบคลุม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 59,950.00 บาท

หมายเหตุ :
ถัวเฉลี่ยทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ป่วยระยะท้ายและญาติเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคองได้รวดเร็วและครอบคลุมมากขึ้น
2.ผู้ป่วยระยะท้ายและญาติได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน


>