กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม.รักและห่วงใยใส่ใจผู้สูงอายุสุขภาพดี มีความสุข ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ชมรม อสม.เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. นายวัชริศเจะเล๊าะ โทร. 081-4775848

ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเป้าหมายทางสังคมที่จำเป็นต้องช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อให้มีสุขภาพดี มีความสุข ปัจจุบันคนไทยโดยเฉลี่ยอายุยืนยาวขึ้น ทำให้ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่อ่อนไหวที่จะต้องได้รับการดูแล ทั้งร่างกาย จิตใจและอารมณ์ การคัดกรองสุขภาพก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะให้ผู้สูงอายุรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคเรื้อรังได้
จากการดำเนินโครงการในปีที่ผ่านมา ได้รับการตอบรับจากชุมชนต่างๆที่เข้าร่วมกิจกรรม และมีผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการรู้สึกพึงพอใจและมีความสุข ดังนั้นในปีนี้ ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จำนวน 24 ชุมชน ประกอบด้วย ตันหยงมะลิ,อริศรา, สวนมะพร้าว, โก-ลกวิลเลจ, ดงงูเห่า, กูโบร์, สันติสุข, เจริญสุข, จือแลตูลี, ศรีอามาน,เสาสัญญาณ, บือเร็งนอก, บาโงปรีเม็ง, โปฮงยามู, บือเร็ง, บือเร็งใน, หลังด่าน, ท่าประปา, ท่าโรงเลื่อย, หลังล้อแม็กซ์, โต๊ะลือแบ, กือบงกาแม, กือดาบารูและชรีฮาจายา ได้ประชุมหารือกันและมีมติที่ประชุมให้จัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้นในปี 2564 นี้ ซึ่งในโครงการจะมีกิจกรรมการลงทะเบียนผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพคัดกรองเบื้องต้น โรคความดันโลหิต การตรวจน้ำตาลในเลือด การให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี กิจกรรมส่งเสริมทางด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ และกิจกรรมต่างๆ ทำให้ผู้สูงอายุได้รูู้สึกถึงการมีคุณค่าของตนเองในสังคม สำหรับชุมชนไทยพุทธจะมีพิธีทางศาสนา ชุมชนไทยมุสลิมจะมีการบรรยายธรรมโดยผู้นำศาสนา เพื่อสร้างกำลังใจกับผู้สูงอายุที่มาร่วมกิจกรรม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และการบริโภคอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ

 

0.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เป็นอยู่และมีสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น

 

0.00
3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุในชุมชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รักและห่วงใยใส่ใจผู้สูงอายุ สุขภาพดีมีความสุขชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน

ชื่อกิจกรรม
รักและห่วงใยใส่ใจผู้สูงอายุ สุขภาพดีมีความสุขชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย ู้สูงอายุใน 26 ชุมชน (ยกเว้นชุมชนหลังด่านมัสยิดกลาง ท่ากอไผ่) จำนวน 1,200 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
1. สำรวจชุมชนที่ต้องการเข้าร่วมโครงการ และมอบหมาย อสม. แต่ละชุมชน สำรวจจำนวนผู้สูงอายุในชุมชนที่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้
2. เขียนโครงการเสนอเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อดำเนินกิจกรรม
3. ประสานเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 และ 2 มาร่วมทำกิจกรรมและเป็นวิทยากรในการให้ความรู้
4. ตรวจวัดความดันโลหิต , ตรวจน้ำตาลในเลือด , ชั่งน้ำหนัก , ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ ,ให้ความรู้เรื่องการรับประทานยาอย่างถูกวิธี สาธิตการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี กิจกรรมผ่อนคลายอารมณ์ เยี่ยมผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ให้กำลังใจ
5. ส่งต่อข้อมูลการตรวจสุขภาพให้แก่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 และ 2 เพื่อติดตามต่อไป
5. สรุปผลการดำเนินการและประเมินผลติดตามภาวะสุขภาพ
งบประมาณ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานใน 25 ชุมชน รายละเอียดค่าใช้จ่ายแยกตามชุมชน ดังนี้
1. ชุมชนกูโบร์ กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
2. ชุมชนโต๊ะลือเบ กลุ่มเป้าหมาย 52 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 52 คน เป็นเงิน 1,300 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 52 คน เป็นเงิน 5,200 บาท
รวมเป็นเงิน 6,500 บาท
3. ชุมชนตันหยงมะลิ กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
4. ชุมชนโกลกวิลเลจ กลุ่มเป้าหมาย 35 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 35 คน เป็นเงิน 875 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 35 คน เป็นเงิน 3,500 บาท
รวมเป็นเงิน 4,375 บาท
5. ชุมชนบือเร็ง กลุ่มเป้าหมาย 57 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 57 คน เป็นเงิน 1,425 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 57 คน เป็นเงิน 5,700 บาท
รวมเป็นเงิน 7,125 บาท
6. ชุมชนกือดาบารู กลุ่มเป้าหมาย 50 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 50 คน เป็นเงิน 1,250 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 50 คน เป็นเงิน 5,000 บาท
รวมเป็นเงิน 6,250 บาท
7. ชุมชนกือบงกาแม กลุ่มเป้าหมาย 38 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 38 คน เป็นเงิน 950 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 38 คน เป็นเงิน 3,800 บาท
รวมเป็นเงิน 4,750 บาท
8. ชุมชนหัวสะพาน กลุ่มเป้าหมาย 16 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 16 คน เป็นเงิน 400 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 16 คน เป็นเงิน 1,600 บาท
รวมเป็นเงิน 2,000 บาท
9. ชุมชนเสาสัญญาณ กลุ่มเป้าหมาย 41 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 41 คน เป็นเงิน 1,025 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 41 คน เป็นเงิน 4,100 บาท
รวมเป็นเงิน 5,125 บาท
10. ชุมชนดงงูเห่า กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
11. ชุมชนสวนมะพร้าว กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
12. ชุมชนจือแรตูลี กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
13. ชุมชนสันติสุข กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
14. ชุมชนบาโงปริเม็ง กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
15. ชุมชนบาโงเปาะเล็ง กลุ่มเป้าหมาย 54 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม25 บาทx 54 คน เป็นเงิน 1,350 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 54 คน เป็นเงิน 5,400 บาท
รวมเป็นเงิน 6,750 บาท
16. ชุมชนโปฮงยามู กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
17. ชุมชนอริศรา กลุ่มเป้าหมาย 40 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40 คน เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 40 คน เป็นเงิน 4,000 บาท
รวมเป็นเงิน 5,000 บาท
18. ชุมชนเจริญสุข กลุ่มเป้าหมาย 36 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 36 คน เป็นเงิน 900 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 36 คน เป็นเงิน 3,600 บาท
รวมเป็นเงิน 4,500 บาท
19. ชุมชนหัวกุญแจ กลุ่มเป้าหมาย 35 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 35 คน เป็นเงิน 875 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 35 คน เป็นเงิน 3,500 บาท
รวมเป็นเงิน 4,375 บาท
20. ชุมชนท่าโรงเลื่อย กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 30 คน เป็นเงิน 750 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 30 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
รวมเป็นเงิน 3,750 บาท
21. ชุมชนหลังล้อแม็กซ์ กลุ่มเป้าหมาย 43 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 43 คน เป็นเงิน 1,075 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 43 คน เป็นเงิน 4,300 บาท
รวมเป็นเงิน 5,375 บาท
22. ชุมชนศรีอามาน กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 30 คน เป็นเงิน 750 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 30 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
รวมเป็นเงิน 3,750 บาท
23. ชุมชนทรายทอง กลุ่มเป้าหมาย 60 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
24. ชุมชนบือเร็งใน กลุ่มเป้าหมาย 56 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 56 คน เป็นเงิน 1,400 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 56 คน เป็นเงิน 5,600 บาท
รวมเป็นเงิน 7,000 บาท
25. ชุมชนซรีจาฮายา กลุ่มเป้าหมาย 19 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาทx 19 คน เป็นเงิน 475 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 19 คน เป็นเงิน 1,900 บาท
รวมเป็นเงิน 2,375 บาท
26 ชุมชนท่าประปา กลุ่มเป้าหมาย 28 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 28 คน เป็นเงิน 700 บาท
- ค่าอุปกรณ์สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้า 100 บาท x 28 คน เป็นเงิน 2,800 บาท
รวมเป็นเงิน 3,500 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 150,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุในแต่ละชุมชนได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองจากการอบรม และทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น รู้สึกถึงการมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
150000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 150,000.00 บาท

หมายเหตุ :
สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และการบริโภคอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ
2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เป็นอยู่และมีสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น
3. ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นขากการเข้าร่วมกิจกรรม


>