กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร รหัส กปท. L2533

อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะในเพศชายในเด็กและเยาวชน (เข้าสุนัต)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร
3.
หลักการและเหตุผล

การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย(การเข้าสุนัต) คือ การทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัดแต่งเพื่อขจัดความสกปรกและเหตุผลทางการแพทย์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ท่านนบีมูฮำหมัดศ็อลฯได้ให้โอวาทไว้ดังนี้ ธรรมชาติ 5 สิ่ง (ในร่างกายมนุษย์) ที่ต้องได้รับการตกแต่งคือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย การโกนขนในร่มผ้า การตัดเล็บ การถอนขนรักแร้ และการขลิบหนวด (บันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม)
การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อความสะอาดเป็นสิ่งสำคัญจากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อHIV ได้ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้ จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegma หรือขี้เปียกหากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมทั้งเกิดมะเร็งที่องคชาติได้ (นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร) นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบฯจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงของการเกิดมะเร็งปากมดลูก จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ “คีตาล” (ภาษาอาหรับ) หรือ “ทำสุนัต”(ภาษามลายู)มักทำหมอบ้าน หรือ “โต๊ะมูเด็ง”จากความเชื่อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่า “การทำกับบุคลากรทางการแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรงการทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน” เป็นต้นซึ่งที่ผ่านมาพบว่า การทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก(active bleeding) ทำให้เกิดภาวะช็อคและการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี ดังนั้นกองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทรได้เล็งเห็นความสำคัญของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือการเข้าสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพมากขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร อย่างถูกหลักทางการแพทย์ เพื่อลดการติดเชื้อ และภาวะเลือดออกมาก (active bleeding)
    ตัวชี้วัด : ผู้รับบริการ ไม่เกิดการติดเชื้อ และภาวะเลือดออกมาก (active bleeding) ภายหลังการรับบริการ ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบได้รับบริการตามเป้าหมายร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. เพื่อรณรงค์ สร้างความตระหนัก และความเข้าใจ ในการดูแลและป้องกันโรคติดต่อ แก่ผู้ปกครองและชุมชน
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลและป้องกันโรคติดต่อร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 0.00
  • 4. 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ปกครอง ในการรับบริการ
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการรับบริการ ระดับมาก ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม 1. จัดประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ 2. ประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจ และรับสมัครเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการ 3. จัดตารางเวลา กำหนดการเพื่อออกบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กและเยาวชน งบประมาณ 1. ค่าป้ายไวนิลขนาด 100 x 300 เซนติเมตร เป็นเงิน 750 บาท 2. ค่าวัสดุอุปกรณ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ เช่น ผ้าขาวม้า แผ่นกระดาษรอง ถุงขยะติดเชื้อ เป็นเงิน 4,500 บาท

    งบประมาณ 5,250.00 บาท
  • 2. 2. กิจกรรมบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กและเยาวชน
    รายละเอียด

    รายละเอียจกิจกรรม 1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลและการป้องกันโรคติดต่อแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค 2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย งบประมาณ 1. ค่าวิทยากร 600 บ. x 2 ชม. เป็นเงิน 1,200 บ. 2. ค่าอาหารว่าง 25 บ. x 70 คน เป็นเงิน 1,750 บ. 3. ค่าอาหารกลางวัน 60 บ. x 70 คน เป็นเงิน 4,200 บ. 4. ค่าขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย800บ. x 35 คน เป็นเงิน 28,000บ. รายละเอียดต่อรายซึ่งประกอบด้วย -ค่ายาชา เป็นเงิน 100 บาท
    -ค่าถุงมือ Sterile เป็นเงิน 20 บาท
    -ค่าเข็ม,Syringe เป็นเงิน 10 บาท -ค่าไหม เป็นเงิน 150 บาท -ค่าSet Sterile เป็นเงิน 25 บาท
    -ค่าBetadine 30 cc เป็นเงิน 25 บาท -ค่าElasitix เป็นเงิน 25 บาท
    -ค่าBactigras เป็นเงิน 15 บาท
    -ค่าGauze2ซอง เป็นเงิน 20 บาท -ค่าใบมีด เป็นเงิน 10 บาท
    -ค่าหัตถการ เป็นเงิน 400 บาท

    งบประมาณ 35,150.00 บาท
  • 3. 3. การติดตามและประเมิน เพื่อติดตามและประเมินอาการหลังการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ และความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็ก
    รายละเอียด

    ติดตามและประเมินอาการหลังการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ และความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็ก

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. 4. สรุปผลการดำเนินโครงการในภาพรวม
    รายละเอียด

    เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลร่มไทร

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 40,400.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กและเยาวชนได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย)
  2. สามารถลดการเกิดภาวะเลือดออกมากภายหลังทำหัตถการและภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น การอักเสบรุนแรงและการติดเชื้อ
  3. ผู้ปกครองและชุมชนเกิดความตระหนักในการการป้องกันโรคติดต่อ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร รหัส กปท. L2533

อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร รหัส กปท. L2533

อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 40,400.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................