กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย
กลุ่มคน
1.นายมะกอเซ็งเจะแต
2.นางสาวนูรฮายาตี มัณฑนาพร
3.นางสาวอามีเนาะ ยีเจ๊ะอาแว
4.นางสาว แวนูรไอนีย์แวบือราเฮ็ง
5.นางสาวสุไรนี ดือราแม
3.
หลักการและเหตุผล

ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขตระหนักดีว่าวัคซีนเป็นเครื่องมือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพสูง จึงได้นำวัคซีนที่มีคุณภาพและเหมาะสมสำหรับประเทศมาบรรจุในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้บริการแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมายาวนานกว่า 30 ปี แล้ว โดยมีนโยบายด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่สำคัญ คือ การให้บริการวัคซีนป้องกันโรคที่มีความจำเป็นให้ครอบคลุมจำนวนโรคให้มากที่สุด ให้ครอบคลุมประชาชนกลุ่มเป้าหมายสูงที่สุด ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน จัดให้มีการให้บริการวัคซีนในทุกระดับของสถานบริการ วัคซีนที่ใช้ต้องมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคสูงและต้องมีความปลอดภัย และให้บริการโดยไม่คิดมูลค่าด้วยเหตุนี้เด็ก ๆ แทบทุกคนล้วนได้รับวัคซีนกันถ้วนหน้า ส่งผลให้โรคติดต่อร้ายแรงชนิดต่าง ๆ เช่น โปลิโอ, คอตีบ, ไอกรน, วัณโรค, ลดลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนสูงตั้งแต่ก่อนมีเหตุการณ์ความไม่สงบนั้น จากการสอบสวนการระบาดของโรคหัด ในพ.ศ.2561 พบว่าความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเท่ากับ ร้อยละ ๘๗ และที่สำคัญการเปลี่ยนแปลงจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพในระบบสาธารณสุขอย่างรุนแรง ทั้งนี้การสำรวจความครอบคลุมของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในปี พ.ศ.๒๕๖๑ และต้นปี ๒๕๖๒ พบว่าความครอบคลุมต่ำกว่าเป้าหมายมาก และนำไปสู่การระบาดของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ และโรคหัด อย่างกว้างขวาง และมีอุบัติการณ์ของโรคเหล่านี้สูงที่สุดในประเทศ พื้นที่ที่มีการระบาดส่วนใหญ่เป็นหมู่บ้านที่อยู่ในพื้นที่สีแดง และความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ อยู่ในอัตราค่อนข้างต่ำ จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของรพ.สต.ปุโละปุโยใน ปี 2563 พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมด 346 คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จำนวน 243 คน ร้อยละ 70.23 นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนเลย หรือบางรายรับวัคซีนเพียง 1-2 เข็มเท่านั้น จำนวน 103 คน ร้อยละ 29.77 สาเหตุเนื่องจากผู้ปกครองปฏิเสธการรับฉีดวัคซีน เด็กย้ายที่อยู่ ผู้ปกครองพาไปประกอบอาชีพต่างถิ่น เด็กอาศัยอยู่ญาติเช่นปู่ ย่า ตา ยาย ไม่สะดวกในการเดินทางมารับวัคซีนที่รพ.สต. ไปอยู่กับพ่อแม่ต่างประเทศ เคยฉีดแล้วมีประวัติเป็นไข้ ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ทางรพ.สตปุโละปุโยจึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวในอนาคตต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. ข้อที่ 1เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก0-5ปีได้รับความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด : 1.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 0-5 ปี ร้อยละ 95 2. ไม่มีอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 3. ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ร้อยละ 60
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. ประชุมเตรียมความพร้อมทีมครือข่ายตำบลปุโละปุโยและประชุมถอดบทเรียนการเยี่ยมบ้าน
    รายละเอียด
    1. ประชุมเตรียมความพร้อมทีมครือข่ายตำบลปุโละปุโยและประชุมถอดบทเรียนการเยี่ยมบ้าน -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 65 คน อัตราคนละ 25 บาท1มื้อ จำนวน 1 วัน รวมเป็นเงิน1,625บาท 2.อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนแก่แกนนำด้านSmart Kids (ผู้ปกครองที่ฉีดวัคซีนครบ)จำนวน 25 คน

    - ค่าป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ครบตามเกณฑ์ ขนาดกว้าง1.2ยาว3เมตรจำนวน1 ป้ายรวมเป็นเงิน 720 บาท - ค่าสัมมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราคนละ 300 บาท 6 ชั่วโมง จำนวน 1 วัน
    รวมเป็นเงิน1,800 บาท - ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 25 คน อัตราคนละ 50 บาท1มื้อ จำนวน 1 วัน รวมเป็น 1,250 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน อัตราคนละ 25 บาท2มื้อ จำนวน 1 วัน รวมเป็น 1,250 บาท รวมเป็นเงิน5,020บาท 3. อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี จำนวน 88 คน - ค่าสัมมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราคนละ 300 บาท 6 ชั่วโมง จำนวน 1 วัน
    รวมเป็นเงิน1,800 บาท - ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 88 คน อัตราคนละ 50 บาท1มื้อ จำนวน 1 วัน รวมเป็น 4,400 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน อัตราคนละ 25 บาท2มื้อ จำนวน 1 วัน รวมเป็น 4,400 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ใช้ในการอบรมจำนวนเงิน 1,255บาท รวมเป็นเงิน11,855บาท 4. กิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจ(มอบประกาศนียบัตร) สำหรับผู้ปกครองที่พาบุตรมารับวัคซีนตามนัด -ค่าประกาศนียบัตรพิมพ์สีพร้อมใส่กรอบจำนวน 10 ชิ้น ราคาชิ้นละ 150 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

    งบประมาณ 20,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

รพ.สต.ปุโละปุโยมีระบบการติดตามการรับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างมีคุณภาพ ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน และตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ส่งผลให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ และไม่ป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................