กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด รหัส กปท. L7577

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด
กลุ่มคน
1. นางสาวเพ็ญพิชชานวลสนอง
2. นางสาวจิราภารุ่งเรือง
3. นางสายพินขุนจันทร์
4. นางจารุทิพย์ฤทธิเดช
5. นางสาวอัญชลีศรีสงคราม
3.
หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาปีพุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ระบุไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ 2.2.2 จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดูแลสุขภาพความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน ตามแผนยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8.1 พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตราฐานการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง เห็นว่าปัญหาเด็กจมน้ำเสียชีวิต จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค หลังปี 2560 พบเด็กจมน้ำเสียชีวิตตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถึง 15 เหตุการณ์ หรือ ร้อยละ 71.4 ของเหตุการณ์เด็กจมน้ำทั้งหมด โดยเฉพาะช่วงกำลังเข้าสู่ฤดูร้อน ซึ่งในช่วงดังกล่าวนั้นจะพบเด็กจมน้ำเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก โดยสาเหตุหลักเกิดจากชวนกันไปเล่นน้ำเป็นกลุ่ม และเด็กขาดทักษะในการเอาตัวรอดในน้ำ รวมถึงการช่วยเหลือที่ถูกต้อง การดำเนินการโครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ เป็นโครงการที่สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง หมายถึง สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้ เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” ต้องให้เด็กเรียนรู้กฎความปลอดภัยทางน้ำ รู้จักการช่วยด้วย การใช้มาตรการ “ตะโกน โยน ยื่น” คือ 1. ตะโกน การเรียกให้ผู้ใหญ่มาช่วย 2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อช่วยคนตกน้ำเกาะ จับ พยุงตัว เช่น ถัง แกลลอนพลาสติกเปล่า หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้ โดยโยนครั้งละหลาย ๆ ชิ้น 3. ยื่นอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ไม้ เสื้อ ผ้าขาวม้าให้คนตกน้ำจับและดึงขึ้นมาจากน้ำ เป็นต้น และให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดถึงวิธีป้องกันอันตรายจากน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% รู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำได้
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 2.00
  • 2. เพื่อให้เด็กรู้ถึงความปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้แหล่งน้ำ
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% รู้ถึงวิธีการปฏิบัติให้ตัวเองปลอดภัยจากการจมน้ำ
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 5.00
  • 3. เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และปฏิบัติตาม และถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับการอบรมมาให้กับผู้อื่นได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง, บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% มีวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ สามารถปฏิบัติตามที่รับการอบรมมาได้และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจและปฏิบัติตามได้
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 2.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
    รายละเอียด
    1. อบรมให้ความรู้เรื่องเด็กไทยไม่จมน้ำ แก่เด็ก,ผู้ปกครอง,บุคลากร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดจำนวน268คน
       วิทยากรบรรยาย ได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้

    - สาเหตุที่เกิดการจมน้ำ - พื้นที่เสี่ยงต่อการจมน้ำ - วิธีการป้องกันการเกิดการจมน้ำ - วิธีการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดการตกน้ำ  วิทยากรสาธิต และให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ลงมือปฏิบัติในเรื่องการการช่วยตนเองและการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดการตกน้ำ โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน1,800 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(128 คน ×1 มือ×25 บาท)เป็นเงิน3,200บาท

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 28 พฤษภาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 5,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กรู้ถึงความปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้แหล่งน้ำ รู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
  2. ผู้ปกครอง,บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด มีวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถปฏิบัติตาม และถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับการอบรมมาให้กับผู้อื่นได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด รหัส กปท. L7577

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด รหัส กปท. L7577

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 5,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................