กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา

ฝ่ายเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา

1. นายคำน้อยหนูแสง นายกเทศมนตรีตำบลบ้านนา
2. นายมนพพรเขมะวนิชปลัดเทศบาลตำบลบ้านนา
3. นายวุฒิชัยนิ่มดำหัวหน้าสำนักปลัดเทศบาลตำบลบ้านนา
4. นางสาวสิริกันยาทองรักษ์เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน
5. นางสาววิภาวรรณเกื้อวงค์พนักงานจ้าง

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

100.00
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

 

40.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

40.00
4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

20.00
5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ

 

40.00
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

4.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

100.00 100.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

40.00 40.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

20.00 20.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

40.00 40.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

40.00 40.00
6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

4.00 4.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 พิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 พิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุน จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 20 คนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 32,000 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มรับรองการประชุมคระกรรมการและที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 20 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
  3. ค่าตอบแทนในกาประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 9 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มรับรองการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 9 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 900 บาท
  5. ค่าตอบแทนในกาปรระชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 10 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มรับรองกาปรระชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 10 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท รวมเป็นเงิน 48,950 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
48950.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. เครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก สำหรับสำนักงาน จำนวน 1 เครื่อง ราคา 16,000 บาท
  2. เครื่องพิมพ์เอกสาร จำนวน 1 เครื่องๆ ราคา 7,500 บาท รวมเป็นเงิน 23,500
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมถอดบทเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหาร จำนวน 36 คนๆ ละ 4 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คนๆ ละ 3 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
  3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 12 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
  4. ค่าที่พัก จำนวน 19 ห้องๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 11,400 บาท
  5. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1x2 เมตรๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 400 บาท รวมเป็นเงิน 38,800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 111,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คณะกรรมการ อนุกรรมการ คระทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ เพิ่มมากขึ้น
2. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา สามารถบริหารจัดการกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


>