กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย รหัส กปท. L3351

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านอาหาร ยา และเครื่องสำอางของผู้บริโภคในชุมชน ตำบลโคกชะงายปี 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านโคกชะงาย
กลุ่มคน
1. นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร
2. นางเพ็ญ ขาวมาก
3. นายชรินทร์ หนูเกื้อ
4. นางวรรดี ช่วยมั่ง
5. นางสาวชนม์นิภา ธรรมเพชร
3.
หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันสุขภาพของคนในพื้นที่ มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลายชนิด ที่เป็นสาเหตุให้คนเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่งสาเหตุเกิดจากอาหารการกินสารเคมีที่ปนเปื้อนมาในอาหารในรูปแบบต่างๆ ทำให้ประชาชนเกิดโรคมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์สุขภาพหลายชนิดที่เกิดขึ้น ทั้งผลิตภัณฑ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง ที่กลุ่มผู้ผลิตโฆษณาเพื่อดึงดูดความสนใจผู้บริโภคให้มาใช้สินค้า เกิดการแข่งขันทางธุรกิจ
กลุ่มผู้ผลิตพยายามหาจุดขายของผลิตภัณฑ์ บางผลิตภัณฑ์มีการใช้สารที่ห้ามใช้เป็นส่วนผสม เพราะเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค เช่น สารไฮโดรควิโนน สารปรอท กรดวิตามินเอ ซึ่งห้ามใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง สารสเตียรอยด์ ห้ามใช้ในยาแผนโบราณ ส่วนใหญ่จะพบในยาลูกกลอน สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารบอแรกซ์ ในอาหาร กลุ่มเกษตรกรที่ปลูกผัก ผลไม้ ใช้สารเคมีเพื่อให้ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ รวมทั้ง ร้านค้าที่นำผลิตภัณฑ์สุขภาพมาขายในร้าน ยังมีการแอบนำผลิตภัณฑ์ ยาที่ห้ามจำหน่ายในร้านชำมาขายให้ประชาชนในชุมชนจำเป็นต้องให้ประชาชนได้รับความรู้และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้โดยผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม. )เป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรม ปีงบประมาณ 2563 ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ได้ตรวจประเมินร้านชำในชุมชน พบว่า มีร้านขายของชำที่แอบขายยาและเครื่องสำอางที่ห้ามขาย จำนวน 4 ร้าน (ร้อยละ 25) และประชาสัมพันธ์การห้ามขายบุหรี่ให้เด็กที่อายุต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ดังนั้นหากประชาชนในพื้นที่ไม่ได้รับความรู้ ไม่ได้รับการเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสาเหตุที่มาจากการรับประทานอาหาร การใช้ยาและเครื่องสำอาง อาจทำให้เกิดการเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลต่อสุขภาพและเศรษฐกิจของครอบครัวที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา ดังนั้นการเฝ้าระวัง ด้านอาหาร ยา และ เครื่องสำอางเป็นสิ่งสำคัญเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในชุมชนเกิดการเจ็บป่วย อีกทั้งกระตุ้นให้ประชาชนปลูกผัก ผลไม้ กินเองที่บ้านเพื่อลดระดับสารเคมีตกค้างในเลือดป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงได้จัดทำโครงการโครงการเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านอาหาร ยา และเครื่องสำอางของผู้บริโภคในชุมชน ตำบลโคกชะงายปี 2564 ขึ้น เพื่อเฝ้าระวัง ตรวจร้านชำ ร้านอาหาร ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำและร้านอาหาร แผงลอบ และประชาชนในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพเครื่องสำอาง อาหาร ยา ที่ปลอดภัย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำขายของชำ ร้านอาหารและแผลงลอยและทีมตรวจมีความรู้และทักษะตรวจอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านชำขายของชำ ร้านอาหารและแผลงลอยและทีมตรวจมีความรู้และทักษะตรวจอาหารยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    ขนาดปัญหา 65.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ร้านขายของชำ ร้านอาหารและแผงลอยทุกร้านได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจการขายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำ ร้านอาหารและแผงลอยทุกร้านได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจการขายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพทุกปี
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเสริมสร้างทักษะผู้ประกอบการและ อสม.เฝ้าระวังะตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านชำ
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน คนละ 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 34 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน 1,700 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 34 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 1,700 บาท
    • ป้ายไวนิล ขนาด 1.5 x 2 เมตร ตรม.ละ 180 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 540 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 34 ชุดๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,020 บาท
    • ค่าชุดตรวจ(ร้านชำ) เป็นเงิน 3,500 บาท
    • ค่าชุดตรวจ(ร้านอาหาร) เป็นเงิน 3,500 บาท
    งบประมาณ 15,560.00 บาท
  • 2. ตรวจร้านขายของชำ ร้านอาหารและแผงลอยในชุมชน
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 18 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 18 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    • ประกาศนียบัตรร้านชำติดตาว จำนวน 16 ชิ้นๆละ 150 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
    • ป้าย Clean Food Good Testจำนวน 6 ป้ายๆละ 400 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
    งบประมาณ 6,600.00 บาท
  • 3. สรุปและประเมินผล
    รายละเอียด
    • ดำเนินการสรุปผลการดำเนินทั้ง 2 กิจกรรม
    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 2, 3, 4 , 5 ,6 และ 8 ตำบลโคกชะงาย

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 22,160.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • ผู้ประกอบการร้านชำขายของชำ ร้านอาหารและแผลงลอยและทีมตรวจมีความรู้และทักษะตรวจอาหารยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  • ร้านขายของชำ ร้านอาหารและแผงลอยทุกร้านได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจการขายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพทุกปี
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย รหัส กปท. L3351

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย รหัส กปท. L3351

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 22,160.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................