2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
จากรายงานผลคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ปีงบประมาณ 2563 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชอบ 4 หมู่บ้านของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี พบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี คิดเป็นร้อยละ 42.79 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 50 และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี คิดเป็นร้อยละ 15.11 ไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ50 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้ป่วยเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน) ปีงบประมาณ 2564เพื่อปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง ( โรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ) ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย และป้องกันการขาดยาซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 50 คน และผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 50 คน รวมเป้าหมายทั้งสิ้น 100 คน
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/11/2020
กำหนดเสร็จ 30/09/2021
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดีร้อยละ50
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ50
3.กลุ่มเสี่ยงป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 60