กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการดูแลสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านอย่างต่อเนื่อง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังใหญ่

1.นางบุญประสมนิลกาฬ
2.นางรอกีเย๊าะ ยูโซะ
3.นางจุไรรัตน์ยะโสธะโร
4.นางอรวรรณจะโรจน์หวัง
5.นางสาวมาลีหย๊ะหง๊ะเจะแอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

12.73
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

13.70

เนื่องจากกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากควบคุมโรคได้ไม่ดี มีแนวโน้มมากขึ้น และจากการศึกษาข้อมูลพบว่าการให้ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลวัดความดันหรือเจาะน้ำตาลเองที่บ้านจะช่วยให้การควบคุมโรคได้ดีที่สุดเพราะเป็นการผ่อนคลายความเครียดค่าที่ได้จะเป็นจริงมากที่สุดซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในเกณฑ์ดีและสำหรับคนที่ป่วยก็จะวางแผนในการดูแลตนเองได้มากและดียิ่งขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมากกว่าร้อยละ 95

1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมากกว่าร้อยละ 95

95.00 95.00
2 2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 90

2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ90

90.00 90.00
3 3.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการยืนยันโรคร้อยละ 100

3.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการยืนยันโรคร้อยละ 100

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 3,000
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุม อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมความพร้อมวางแผนงานการตรวจคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุม อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมความพร้อมวางแผนงานการตรวจคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุม อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมความพร้อมวางแผนงานการตรวจคัดกรอง -ค่าอาหารว่างจำนวน 154 คน( อสม.+จนท.) คนละ 1 มื้อๆละ 25 บาทเป็นเงิน3,850 บาท 2.การจัดทำแผนการออกคัดกรอง รายหมู่ จำนวน 8 หมู่บ้าน วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 1 บ้านคลองยอ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 2 บ้านพรุกง วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 3 บ้านควนหมาก วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 4 บ้านใหม่ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งหรี่ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 6 บ้านวังใหญ่ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 7 บ้านโหล๊ะบอน วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 8 บ้านควนหินเภา

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.และเจ้าหน้าที่มีความรู้ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3850.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตแก่ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปโดยให้บริการดังนี้ -ชั่งน้ำหนัก   วัดความดันโลหิต  วัดรอบเอว  วัดส่วนสูง   คำนวณดัชนีมวลกาย ( BMI )   เจาะเลือดเพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด   คัดกรองภาวะซึมเศร้า   คัดกรองบุหรี่   คัดกรองวัณโรคปอด    ตรวจสุขภาพช่องปาก   ให้สุขศึกษารายกลุ่ม /รายบุคคล   เครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิตอล  จำนวน 20 เครื่องๆละ 2,500 บาท สำหรับผู้ป่วยวัดความดันโลหิตเองที่บ้าน เป็นเงิน 50,000 บาท
- เครื่องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 10 เครื่องๆละ 2,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
-แอลกอฮอล์สำลี จำนวน 8 กล่องๆละ 450บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
- แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด  จำนวน 30 กล่องๆ 750 บาท เป็นเงิน 22,500 บาท
-เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว จำนวน 30 กล่องๆละ 400 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
-ถุงมือยาง จำนวน 3 กล่อง ๆละ 100บาท เป็นเงิน 300 บาท
- ถ่านสำรองใส่เครื่องเจาะน้ำตาล จำนวน 30 ก้อนๆละ50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
-ถ่าน AA  สำหรับใส่เครื่องวัดความดันโลหิตให้ผู้ป่วย 5 กล่องๆละ 390 บาทเป็นเงิน 1,950 บาท
-ค่าสำลีแห้ง(10*20) 20 แพ็คๆละ80 บาทเป็นเงิน 1,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชากรกลุ่มกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 95

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
113450.00

กิจกรรมที่ 3 การแปรผลการคัดกรองและคืนข้อมูลการคัดกรองสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
การแปรผลการคัดกรองและคืนข้อมูลการคัดกรองสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การแปรผลการคัดกรองและคืนข้อมูลการคัดกรองสุขภาพ จำแนกเป็นกลุ่ม ๓  กลุ่ม
-กลุ่มปกติ   กลุ่มเสี่ยง   กลุ่มสงสัยป่วย - ค่าบัตรประจำตัวผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตและตรวจน้ำตาลเองที่บ้าน  จำนวน 100 ใบๆละ 2 บาท เป็นเงิน 200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 99 2.กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการยืนยันโรค 72.50 3.กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามความดันโลหิตอย่างต่อเนื่องร้อยละ 99

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
200.00

กิจกรรมที่ 4 ให้ความรู้เรื่องความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง แก่กลุ่มเสี่ยงและทำการทดสอบความทนทานต่อกลูโคส (75gm OGTT) ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 ราย แปรผลการตรวจ

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้เรื่องความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง แก่กลุ่มเสี่ยงและทำการทดสอบความทนทานต่อกลูโคส (75gm OGTT) ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 ราย แปรผลการตรวจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้เรื่องความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง แก่กลุ่มเสี่ยงและทำการทดสอบความทนทานต่อกลูโคส (75gm OGTT) ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 ราย แปรผลการตรวจ
-ค่าน้อยกว่า 140 mg% = ปกติ -ค่า 141-199mg% = เสี่ยง -ค่า > หรือ = 200 mg% = สงสัยป่วย (ส่งต่อเพื่อวินิจฉัยโรค) - ค่าน้ำตาลกลูโคส 454 กรัม/กระป๋อง จำนวน 50 กระป๋องๆละ 70 บาทเป็นเงิน 3,500บาท - Syringe 3 ml 3 กล่องละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท -เข็มเจาะเลือด เบอร์ 21 จำนวน 3 กล่องๆละ 60 บาท เป็นเงิน 180 บาท -แก้วพลาสติกขนาด 8 ออนซ์ จำนวน 5แพ็คๆละ 90 บาท เป็นเงิน 450 บาท -ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ 200 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท(ใช้ตามสิทธิ์หลักประกันสุขภาพ)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่งเสี่ยงได้รับการตรวจและทำการทดสอบความทนทานต่อน้ำตาลกลูโคส 75 กรัม มากว่าร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4580.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ดี - การใช้เครื่องมือและการบันทึกด้วยตนเอง - เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล -ค่าอาหารว่างผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าอาหารว่างผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 2000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ดีได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้น ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 130,180.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

กลุ่มประชาชนกลุ่มปกติได้รับการตรวจคัดกรองโรคอย่างต่อเนื่องๆจากกลุ่มเป้าหมายในแต่ละปีงบประมาณจะมีการเปลี่ยนแปลงเสมอและกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต้องได้รับการตรวจซ้าอย่างต่อเนื่องเช่นกันเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และการมีความรู้และมีความตระหนักในการดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญที่ควรส่งเสริมต่อไปอย่างต่อเนื่อง


>