กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ รหัส กปท. L2518

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด (รพ.สต.ไม้ฝาด)
กลุ่มคน
1.นางแวมีเนาะ มะรือสะ
2.นางสาวซารีฟา สะแลแม
3.
หลักการและเหตุผล

ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษในการบำบัดความเจ็บป่วยในชุมชนแบบพื้นบ้าน ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพรรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่ในปัจจุบันองค์ความรู้การดูแลสุขภาพและภูมิปัญญาด้านการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนได้ขาดหายไป ซึ่งผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์แพทย์แผนไทยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่นับวันจะมีจำนวนลดลงทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยลง ด้วยเหตุนี้สมควรเป็นอย่างยิ่งที่จะสืบต่อองค์ความรู้ที่มีอยู่มาดูแลสุขภาพต่อไปมิให้สูญหาย สถานการณ์ประเทศไทยในปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากรายงานสำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2562 ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีถึงประมาณ 11.13 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16.73 ของประชากรทั้งประเทศ ที่มีอยู่ 66.55 ล้านคน องค์การสหประชาชาติได้ให้นิยามว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในสัดส่วนเกิน 10% ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ดังนั้นประเทศไทยจึงนับได้ว่าได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว
เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีสภาพร่างกายที่ถดถอย อวัยวะภายในร่างกายลดประสิทธิภาพการทำงานไปตามอายุที่มากขึ้นและไม่สามารถซ่อมแซมกลับคืนสู่สภาพปกติได้ ทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคต่างๆ จากการประเมินสภาวะสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาปวดข้อเข่าเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 43.95 จากผลการสำรวจสุขภาวะของผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด พบว่ามีผู้สูงอายุทั้งหมด 455 คน และมีผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมในปี 2561 จำนวน 38 คน ปี 2562 จำนวน 57 คน และในปี 2563 จำนวน 89 คน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งมีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่ต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรงทำให้ผู้สูงอายุเกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหวส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงเป็นอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก และส่งผลต่อร่างกายจากการใช้ยาแก้ปวดหรือวิธีการจัดการอาการปวดที่ไม่เหมาะสมความเจ็บปวดส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องหาวิธีการที่จะจัดการกับอาการโดยการซื้อยากินเองถึงร้อยละ 3.9 ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ เช่น ระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร อาการปวดข้อเข่าสามารถที่จะบรรเทาได้โดยไม่ต้องใช้ยาแก้ปวด เช่น การใช้ยาสมุนไพรในท้องถิ่นช่วยลดอาการปวดเข่า ลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบัน และยังทำให้ผู้สูงอายุหันมาใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นแทน การประคบสมุนไพรจะกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดทำให้อาการปวดเข่าลดลง การบริหารท่าฤๅษีดัดตนที่จะช่วยชะลอความเสื่อมของข้อเข่าในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายหรือการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่ามีผลในการเพิ่มกำลังของกล้ามเนื้อ การประคบสมุนไพรจะกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดทำให้อาการปวดเข่าลดลง แพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์หนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น สมุนไพรไทยจึงนับเป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค ดังนั้นเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ เพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทางแพทย์แผนไทยให้อยู่ในระดับที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไม้ฝาด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนได้มีทางเลือกในการรักษามากขึ้น แบบครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมพร้อมได้รับคำแนะนำการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น และรับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุในตำบลไม้ฝาด ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม และได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
  • 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายด้วยการพอกเข่า ตามแผนการรักษาของแพทย์แผนไทย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์แผนไทยได้รับการพอกเข่า
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ
    รายละเอียด
    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ค่าอาหารกลางวัน 50 บ. X 100 คน =5,000 บ. ค่าอาหารว่าง 25 บ. 2 มื้อ x 100 คน = 5,000 บ. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 40 บ. x 100 = 4,000บ. ค่าป้ายโครงการ= 1,000 บ.
    งบประมาณ 15,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่าและสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ รหัส กปท. L2518

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ รหัส กปท. L2518

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................