กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้

1นายสมนึก เพชรฤทธิ์ประธานกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯ อบต.นาท่ามใต้
2. นางสายพินเม่งเอียดกรรมการ
3. นายบรรจบแก้วละเอียดกรรมการ ฯ
4.นางสาวณัฐชยาสกุลทิพย์แท้กรรมการและเลขานุการ
5.นางพิสุทธิ์ศรีจิตต์มั่นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ตำบลนาท่ามใต้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

องค์การบริหารส่วนตำบลนาท่ามใต้ได้ลงนามร่วมมือจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลนาท่ามใต้ได้ดำเนินกิจกรรม/โครงการ ฯในการสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการสาธารณสุข ในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพสำหรับประชาชน ซึ่งในระบบการบริหารงานของกองทุน ฯ ได้จัดบริการเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก ๕ กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้พิการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่ กองทุนมีการสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุขให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการในการส่งเสริมสุขภาพการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่นระบบการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพของ อบต.นาท่ามใต้ มีคณะกรรมการการบริหารกองทุน ฯ ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน คณะกรรมการทุกท่านได้ดำเนินการให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ในความรับผิดชอบสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ในชุมชนหรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นกองทุน ฯ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบการทำงานของคณะกรรมการเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯ/ และคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการ (LTC)มีความรู้ความเข้าใจในกฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้อรังชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้อรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหาร จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ

จำนวนของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ/อนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริหาร  (LTC)/ชุดคณะทำงาน (LTC)

30.00 30.00
2 ข้อที่ 2เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน

จำนวนของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ/ อนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริหาร  (LTC)/ชุดคณะทำงาน (LTC)

30.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 41

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 21/12/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้

ชื่อกิจกรรม
โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 กิจกรรมการประชุมและส่งเสริมความรู้/เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการ ฯ กองทุนอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริหาร  (LTC)/ชุดคณะทำงาน (LTC) - ค่าตอบแทนคณะกรรมการ  48,000 บาท ( จำนวน 20 คนๆละ 400 บาทจำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 32,000 บาท) - ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ
(จำนวน 6 คน ๆละ 300 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท)

  • ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ สนับสนุนการจัดบริการ  ( LTC) (จำนวน10 คน ๆละ 300 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 12,000 บาท)
    • ค่าตอบแทนคณะทำงาน  ( LTC) (จำนวน5 คน ๆละ 300 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 4,000 บาท)
  • ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการกองทุนต่างๆ (ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับไปรษณีย์ วัสดุอุปกรณ์ อาหารว่าง น้ำดื่ม ค่าเดินทาง ฯลฯ 4,800 บาท  กรณีการเบิกในกิจกรรมย่อยการประชุม หากมีเหลือจ่ายจากสามารถเบิกใช้จ่ายได้ในส่วนสำหรับการบริหารพัฒนากองทุน ฯที่ตั้งไว้ 60,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
21 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ /อนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริหาร (LTC) /ชุด คณะทำงาน (LTC) ได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ

  2. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ /อนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริหาร (LTC)/ชุด คณะทำงาน (LTC)  ได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน

  3. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ   /อนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริหาร  (LTC)/ชุด คณะทำงาน ( LTC) เกิดความเข้าใจในการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่กับแกนนำสุขภาพ และประชาชนจากทุกภาคส่วน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
60000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 60,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>