กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมการออกกำลังกายเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพตำบลละงู

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

กลุ่มหรือองค์กรประชาชนตั้งแต่ 5คน

1 นางสายใจ หลีเส็น
2นางวราภรณ์ห้สมา
3นางอโรชา หลีนุ่ม
4นางสาววริยานิยมเดชา
5นางมุดตรีก๊ะกูลหลัง

ตำบลละงุ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันระบบสุขภาพของไทยที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกและสร้างสุขภาพเนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ดังนั้นการออกกำลังกายจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง การออกกำลังกายมีหลายวิธีตามแต่ความเหมาะสม และความต้องการของแต่ละบุคคล แต่ที่เหมาะสมที่ทุกคนสามารถปฏิบัติได้คือการออกกำลังกายด้วยการ เดิน-วิ่งช้าๆ ซึ่งจะทำให้เป็นผลดีต่อสุขภาพ ร่างกาย และจิตใจ
ทางกลุ่ม เดิน-วิ่ง ยามเย็นเพื่อสุขภาพตำบลละงู ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวนี้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู ขึ้น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถเป็นตัวอย่างและเป็นแรงจูงใจให้กับคนในชุมชนทั่วไป ได้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ความรู้ทักษะการออกกำลังกายและความเข้าใจในเรื่องการมีสุขภาพของร่างกาย

ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อว ลดอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อจากการออกกำลังกาย

1.00
2 2.เพื่อลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ ภูมิแพ้ โรคอ้วน และช่วยลดไขมันในหลอดเลือด

2.ร้อยละ80ผู้เข้าร่วมโครงการมีร่างกายแข็งแรง เกิดผลดีต่อสุขภาพ ร่างกายและจิตใจอัตราการเกิดโรคลดลงโดยประเมินผลจากค่า BMI

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 12/02/2021

กำหนดเสร็จ 24/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย : สมาชิกกลุ่ม เดิน - วิ่งงยามเย็นเพื่อสุขภาพตำบลละงู -วิเคราะห์สาเหตุของการเกิดโรคประจำตัว -กำหนดประเด็นปัญหา/แนวทางป้องกัน -วางแผนการดำเนินการ/กำหนดระยะเวลา งบประมาณ -ค่าป้ายโครงการฯ จำนวน 1 ป้าย ราคา 450 บาท
-ค่าวิทยากรจำนวน 4 ชั่วโมง X 400 บาท = 1600 บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน X 50 คน = 1500 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 บาท X 30 คน X 2 มื้อ = 1500 บาท
รวมเป็นเงิน5,050 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แบ่งงานกันชัดเจน ได้รู้จักหน้าที่และมีการวางแผน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5050.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-การเตรียมตัวก่อนการวิ่ง -ฝึกวิธีและทักษะการวิ่ง -ฝึกการอบอุ่นร่างกายก่อทำการวิ่ง -ฝึกการเดิน-วิ่ง ระยะทาง 3-5 กม. -ฝึกการยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังการวิ่ง -ประเมินผลจากค่า BMI (3 เดือน/ครั้ง) งบประมาณ ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมง X 400 บาท = 1600 บาท ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน X 50 คน = 1500 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 บาท X 30 คน x 2 มื้อ = 1500 บาท รวมเป็นเงิน 4600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ลดอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อจากการออกกำลังกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4600.00

กิจกรรมที่ 3 การวิ่งออกกำลังกายต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
การวิ่งออกกำลังกายต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ผู้นำฝึกออกกำลังกาย -การอบอุ่นร่างกายก่อนทำการวิ่ง -การเดิน-วิ่ง ระยะทาง 3-5 กม. -การยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังการวิ่ง -ประเมินผลจากค่า BMI (สามเดือน/ครั้ง) งบประมาณ
น้ำ/เครื่องดื่ม จำนวน 30 คน x 10 บาท x 60 วัน = 18000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 24 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีร่างกายแข็งแรง เกิดผลดีต่อสุขภาพ ร่างกาย และจิตใจ อัตราการเกิดโรคลดลง โดยประเมินผลจากค่า BMI

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18000.00

กิจกรรมที่ 4 เพิ่มเติมองค์ความรู้การออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
เพิ่มเติมองค์ความรู้การออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-การเตรียมตัวก่อนการวิ่ง -ฝึกวิธีและทักษะการวิ่ง -การอบอุ่นร่างกายก่อนทำการวิ่ง -การเดิน - วิ่ง ระยะทาง 3-5กม. -การยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังการวิ่ง -ประเมินผลจากค่า BMI
ปิดโครงการ งบประมาณ งบประมาณ ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมง X 400 บาท = 1600 บาท ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน X 50 คน = 1500 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 บาท X 30 คน x 2 มื้อ = 1500 บาท รวมเป็นเงิน 4600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 24 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ลดอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อจากการออกกำลังกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 32,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการออกกำลังกายมากขี้นและต่อเนื่อง
2ลดอัตราเสิ่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่างๆ
3ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายมากขึ้น
4ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขร่างกายที่ดีขึ้นมีค่าดัชนีมวลกาย(BMI) อยู่ในเกณฑ์ปกติ


>