กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขภาพดีสร้างได้ สไตล์ไสอ้อ (ชมรม อสม.หมู่ที่ 5)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชุมชนบ้านไสอ้อ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านพร้าว

1.นางจรูญลักษณ์ รุ่งทวีชัย
2.นางวันทนา ฉิมดำ
3.นางว่อน บุญเอียด
4.นางปลื้มจิต ขาวนาค
5.นางสาวกรีชฎา เรืองเดช

ชุมชนบ้านไสอ้อ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์ในปัจจุบัน พบว่าการเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุข เช่นโรคปวดเมื่อยตามข้อ โรคปวดหลัง โรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ สารเคมีตกค้างในเลือดรวมถึงโรคมะเร็งด้วย ฉะนั้นการที่ประชาชนต้องมีการประกอบอาชีพเพื่อการดำรงชีวิตประจำวันนั้นก็ต้องมีการป้องกันโรคซึ่งมักเกิดกับการประกอบอาชีพ ซึ่งบางครั้งคิดว่าไม่เป็นไร ไม่ต้องมีการป้องกัน ซึ่งถือว่าเป็นการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ลืมนึกถึงการป้องกันตนเอง และทำให้สุขภาพไม่แข็งแรงในอนาคต
จากข้อมูลพื้นฐานของ รพ.สต.บ้านบ่อทราย พบว่าประชาชนในเขต หมู่ที่ 5 ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 10 ราย กลุ่มเสี่ยง 56 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 43 ราย กลุ่มเสี่ยง 70 ราย
ฉะนั้น อสม.หมู่ที่ ๕ตำบลบ้านพร้าวอำเภอป่าพะยอมจังหวัดพัทลุง จึงได้เห็นความสำคัญและจัดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนที่มีอาชีพในพื้นที่ ได้มีความรู้ในการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพในชีวิตประจำวันและมีสุขภาพที่แข็งแรงตลอดไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม

ร้อยละ 10 ของประชาชนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 5 มีอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง

10.00 10.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ในการป้องกันโรคที่เกิดจากสารเคมี

ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น

70.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคัดกรองและอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองและอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมคัดกรองและอบรมให้ความรู้ -ค่าป้ายโครงการ 1 × 3@150 เป็นเงิน 450 บาท -เครื่องวัดความดัน 1 เครื่อง เป็นเงิน 3500 บาท -เครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง เป็นเงิน 1500 บาท -ค่าวิทยากร 5 ชม. × 300เป็นเงิน 1500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 70 คน × 80 เป็นเงิน 5600 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 70 คน × 25.- × 2 มื้อ เป็นเงิน 3500 บาท
รวมเงินทั้งสิ้น16050.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพร้อยละ 90 /ประชาชนมีความรู้เรื่องสุขภาพของตนเองมากขึ้น และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16050.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ/คนปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ/คนปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมผักปลอดสารคนปลอดภัย -ค่าเมล็ดพันธ์ผัก 30 × 3 × 20 เป็นเงิน 1800 บาทรวมเงินทั้งสิ้น1800.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มเป้าร้อยละ 90 สามารถปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคที่บ้านได้/ประชาชนมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคที่บ้านได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและจัดทำเมนูสาธิต

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและจัดทำเมนูสาธิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวิทยากร 3 ชม. × 300 เป็นเงิน 900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30คน × 25 บาท × 2 มื้อ เป็นเงิน 1500 บาท -ค่าวัตถุดิบและวัสดุในการทำเมนูสาธิต เป็นเงิน 1000 บาท รวมเงินทั้งสิ้น 3400.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถจัดทำเมนูสาธิตได้/ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3400.00

กิจกรรมที่ 4 ลดพุงลดโรค

ชื่อกิจกรรม
ลดพุงลดโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าน้ำและเครื่องดื่มวันออกกำลังกาย 30คน× 20 วัน ×10 บาทเป็นเงิน 6000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายเพื่อขึ้นร้อยละ 70/ ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้นและสามารถออกกำลังกายได้อย่างถูกวิธี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้เรื่องสุขภาพของตนเองมากขึ้น และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้
2.ประชาชนมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในชุมชนมากขึ้น


>