กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร ปีงบระมาณ 2564 ”
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร ปีงบระมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 – L5314 -1-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร ปีงบระมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร ปีงบระมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร ปีงบระมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2564 – L5314 -1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 80 ของประชากรในประเทศ จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมยุคปัจจุบัน การแข่งขันให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรเพื่อให้มีกำไรมากที่สุด ใช้ระยะเวลาในการผลิตน้อยลง เกษตรกรจึงคิดค้นหาวิธีการใหม่ๆ รวมทั้งการใช้สารเคมีเพื่อเร่งผลผลิต หรือสารกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลาย หากเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชไม่มีความรู้ในการป้องกันตนเองหรือไม่ได้ใช้อย่างถูกวิธี จะทำให้สารเคมีเข้าไปสะสมในร่างกาย มีผลทำให้ระดับเอนไซน์โคลีนเอสเตอเรสลดลง ร่างกายอาจเกิดภาวะเจ็บป่วยและเสียชีวิตได้ สาเหตุเนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่มุ่งการเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้น โดยคิดว่าการใช้สารเคมีเป็นเพียงทางเดียวที่จะทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและราคาดี โดยไม่ได้ตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อสุขภาพ ที่นอกจากอันตรายต่อสุขภาพเกษตรกรผู้ใช้แล้ว ยังมีผลต่อครอบครัว ผู้บริโภค และประชาชนในชุมชน โดยเฉพาะพัฒนาการของเด็กที่อาจทำให้เกิดความผิดปกติได้ และในปี 2562 คณะกรรมการวัตถุอันตรายได้มีมติแบน 3 สารเคมีอันตราย ได้แก่ ไกลโฟเซต (Glyphosate), พาราควอต (Paraguard) และคลอร์ไพรีฟอส (Chlopyrifort) ซึ่งเป็นสารอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพ ผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ด้วยกระดาษโคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase reactive paper) ในกลุ่มเกษตรกรพบว่าเกษตรกรที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช พ.ศ.2554-2558 คิดเป็นร้อยละ 32.47, 30.94, 30.57, 34.02 และ 32.45 ตามลำดับ (สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม) จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะต้องช่วยกัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในเกษตรกร ตำบลแหลมสนเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกแตงโม และพืชผักอื่นๆ เป็นจำนวนมาก โดยฉพาะการปลูกแตงโมซึ่งเป็นผลไม้ที่ขึ้นชื่อของตำบล แหลมสน เนื่องจากมีรสหวาน กรอบ และพบว่าในการปลูกผลไม้เหล่านี้มีการใช้สารเคมี ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน และลดอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร รวมทั้งเพื่อให้ เกษตรกรทุกคนมีผลเลือดปกติ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกรมีความรู้/ทักษะ เกี่ยวกับ 1. เทคนิคการเจาะเลือดเกษตร 2. การเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร 3. การตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก 4. การใช้เกษตรอินทรีย์
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/เฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถดูแลสุขภาพได้
  3. ข้อที่ 3. ผลการเจาะเลือดเกษตรอยู่ในระดับปลอดภัยมากขึ้น
  4. ข้อที่ 4. ไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในผักของเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม/อบรม
  2. การเจาะเลือดเกษตรกร
  3. การสุ่มตรวจผักของเกษตรกร
  4. จัดทำคู่มือบันทึกสุขภาพเกษตรกร
  5. ออกเยี่ยมแปลงผักของเกษตรกร (4 หมู่บ้านๆ ละ 1 ครั้ง)
  6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทราบผลกระทบทางสุขภาพที่ได้รับจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  2. เกษตรกรสามารถใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
  3. เกษตรกร ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี และหันมาเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกรมีความรู้/ทักษะ เกี่ยวกับ 1. เทคนิคการเจาะเลือดเกษตร 2. การเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร 3. การตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก 4. การใช้เกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : หลังได้รับการอบรม แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกร 1. สามารถเจาะเลือดเกษตรกรเพื่อหาสารเคมีตกค้างในร่างกายได้ ร้อยละ 80 2. มีความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร และการใช้เกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 80 3. สามารถตรวจหาสารเคมีตกค้างในผักได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/เฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถดูแลสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างปลอดภัย หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 2. หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรมีการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
0.00

 

3 ข้อที่ 3. ผลการเจาะเลือดเกษตรอยู่ในระดับปลอดภัยมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. หลังการเข้าร่วมโครงการ ผลการเจาะเลือดเกษตรกรอยู่ในระดับปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 50
0.00

 

4 ข้อที่ 4. ไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในผักของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของผักที่เกษตรกรปลูกไม่พบการปนเปื้อนสารเคมี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกรมีความรู้/ทักษะ เกี่ยวกับ    1. เทคนิคการเจาะเลือดเกษตร    2. การเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร    3. การตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก    4. การใช้เกษตรอินทรีย์ (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/เฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถดูแลสุขภาพได้ (3) ข้อที่ 3. ผลการเจาะเลือดเกษตรอยู่ในระดับปลอดภัยมากขึ้น (4) ข้อที่ 4. ไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในผักของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม/อบรม (2) การเจาะเลือดเกษตรกร (3) การสุ่มตรวจผักของเกษตรกร (4) จัดทำคู่มือบันทึกสุขภาพเกษตรกร (5) ออกเยี่ยมแปลงผักของเกษตรกร (4 หมู่บ้านๆ ละ 1 ครั้ง) (6) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร ปีงบระมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 – L5314 -1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด