กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง


“ โครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง ”

ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง

ชื่อโครงการ โครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60L4145-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กรกฎาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60L4145-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กรกฎาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2555– 2559 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สร้างสมดุลการพัฒนา”เน้นการพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจกครอบครัว ชุมชนสู่สังคมที่มีคุณภาพและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ประจำปี พ.ศ. 2560– 2564เน้นการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ปัจจุบันแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นประกอบกับนโยบายด้านสาธารณสุขเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชนว่าให้มีการดูแลสุขภาพของประชาชน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ตามชุดสิทธิประโยชน์ให้คลอบคลุมทั้ง4ด้านคือด้านเสริมสร้างสุขภาพ, ด้านการป้องกันโรค, ด้านการรักษาพยาบาลและด้านการฟื้นฟูสภาพแบบองค์รวมและต่อเนื่องโดยเน้นด้านสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจตระหนักที่จะดูแลสุขภาพของตนเองร่วมด้วย ผู้สูงอายุหรือความชราภาพ เป็นสถานะทางสุขภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งแสดงออกมาในลักษณะของการสูญเสียความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆในการดำรงชีวิตในสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากอายุเพิ่มมากขึ้นและปัญหาสุขภาพอื่นๆ เช่น การเจ็บป่วย การได้รับการบาดเจ็บในกระบวนฟื้นฟูสมรรถภาพ อาจประกอบด้วยการใช้วิธีต่างๆทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการจัดหาและการให้บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยผู้สูงอายุ และบริการที่สนับสนุนการดำรงชีวิต การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือการเสริมสร้างความสามารถของผู้สูงอายุ แต่ในทางปฏิบัติผู้สูงอายุยังไม่ได้รับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและยังไม่ได้รับการฟื้นฟูสุขภาพทุกด้านอย่างจริงจังจากภาครัฐและสังคม ถึงแม้ภาครัฐจะมีโครงการต่างๆมากมายเพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุแต่บางครั้งอาจไม่ตรงตามความต้องการของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง จึงไม่เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตที่แท้จริงของผู้อายุ ผู้สูงอายุบางคนอยู่ห่างไกล มีฐานะยากจน ขาดผู้ดูแล เข้าไม่ถึงความช่วยเหลือจากภาครัฐด้วยบริบทของพื้นที่เป็นสังคมชนบท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร และรับจ้างรายวัน แบบไปเช้า เย็นกลับ ช่วงกลางวันจะมีแต่ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อยู่บ้านเพียงลำพัง ส่งผลต่อชีวิตประจำวันคือผู้สูงอายุไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตร ประจำวันได้เองทั้งหมดทำให้ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงญาติ หรือลูกหลาน บางคนต้องถูกทอดทิ้งให้อยู่บ้านคนเดียวในตอนกลางวันโดยญาติเตรียมหาอาหารข้าวของเครื่องใช้วางไว้ใกล้ๆที่สามารถหยิบเองได้การเข้าถึงการให้บริการด้านสุขภาพมีจำกัด ประกอบกับฐานะยากจนไม่มีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ถ้า เจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆก็จะรักษากันเองผู้สูงอายุส่วนใหญ่ขาดการฟื้นฟูด้านจิตใจ การได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านจากเครือข่ายสุขภาพชุมชน ถือเป็นความห่วงใยในคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและสภาพของผู้สูงบางรายเป็นผู้สูงอายุติดเตียงที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตลอดเวลาและการดูแลช่วยเหลือจากชุมชนถือเป็นกระบวนการส่งเสริมสุขภาพใจผู้สูงที่ยั่งยืนวิธีหนึ่ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลารับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน มีผู้สูงอายุจากการสำรวจ 239 คน ผู้สูงอายุติดสังคม 177 คน ติดบ้าน 48 คน และติดเตียง 14 คน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพใจ บางคนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ต้องเป็นภาระกับครอบครัว ซึ่งทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาตองได้ดำเนินการสำรวจผู้สูงอายุ ติดตามดูแลผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเข้ามารับการรักษาพยาบาลโดยการเยี่ยมบ้านแต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ครอบคลุมทุกด้าน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกๆฝ่ายในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะความร่วมมือจากครอบครัว และชุมชน

ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตองและชมรมผู้สูงอายุตำบลกาตอง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง ประจำปี2560

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว บุตรหลาน ญาติหรือชุมชน ร้อยละ 100 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100 3. เพื่อสรางเสริมศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่ ให้เป็นเครือข่ายการดูแล และ เยี่ยมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุติดเตียง ผู้พิการได้รับการช่วยเหลือร้อยละ 100 5. เพื่อลดโรคแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้สูงอายุที่ติดเตียงลงโดยเฉพาะเรื่องการเกิดแผลกดทับและข้อติดร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 62
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
    2. ผู้ผู้สูงอายุ ในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม
    3. ผู้สูงอายุ มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
    4. ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการมากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ  แก่อสม. ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ติดบ้าน  และ
    ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง จำนวน 114 คน  เพื่อเน้นกระตุ้นให้เกิดเครือข่ายในการดำเนินงาน 2.จัดทำแผนการเยี่ยมบ้าน และออกเยี่ยมติดตามดูแลผู้สูงอายุที่ติดบ้าน จำนวน 48 คนและติดเตียง
    จำนวน 14 คนโดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับแกนนำชุมชน อสม. และ อบต.พร้อมมอบชุดของเยี่ยม เพื่อเสริมสร้างความรู้และกำลังใจ ซึ่งประกอบด้วยคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ, ยาสามัญประจำบ้าน,
    อาหารเสริม(นมสำหรับผู้สูงอายุ) 3. จัดคลินิกเคลื่อนที่ในการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุทุกหมู่บ้านอย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ครั้งต่อปี 4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เยี่ยมดูแลผู้สูงอายุ ในพื้นที่รับผิดชอบ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว บุตรหลาน ญาติหรือชุมชน ร้อยละ 100 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100 3. เพื่อสรางเสริมศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่ ให้เป็นเครือข่ายการดูแล และ เยี่ยมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุติดเตียง ผู้พิการได้รับการช่วยเหลือร้อยละ 100 5. เพื่อลดโรคแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้สูงอายุที่ติดเตียงลงโดยเฉพาะเรื่องการเกิดแผลกดทับและข้อติดร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 62
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว บุตรหลาน ญาติหรือชุมชน ร้อยละ 100 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100 3. เพื่อสรางเสริมศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่ ให้เป็นเครือข่ายการดูแล และ เยี่ยมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุติดเตียง ผู้พิการได้รับการช่วยเหลือร้อยละ 100 5. เพื่อลดโรคแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้สูงอายุที่ติดเตียงลงโดยเฉพาะเรื่องการเกิดแผลกดทับและข้อติดร้อยละ 80

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพอเพียงนำหน้า ชราสุขใจ ทุกวัยแข็งแรง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60L4145-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด