กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง


“ โครงการรักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์ ”

ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรู

ชื่อโครงการ โครงการรักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60L4145 - 13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กรกฎาคม 2560 ถึง 13 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60L4145 - 13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กรกฎาคม 2560 - 13 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ครอบครัวเป็นหน่วยของสังคมที่เล็กที่สุดของมนุษย์การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะนำไปสู่การพัฒนาสังคม ชุมชนและประเทศชาติ การดูแลสุขภาพเริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิการฝากครรภ์การเลี้ยงดูที่ถูกต้อง จะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพและสุขภาพดีเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน งานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันโรควัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ไข้สมองอักเสบ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และโปลิโอ ซึ่งโรคดังกล่าวนี้ทำให้สุขภาพของคนในประเทศชาตินั้น เจ็บป่วยร่วมกับสูญเสียภาพลักษณ์ และความรุนแรงสูงสุดสามารถทำอันตรายต่อชีวิต ได้ ดังนั้นถ้าเด็กได้รับวัคซีน 0-5 ปี ครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนด จะสามารถป้องกันโรคดังกล่าวได้ดี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของบุคคลในชาติมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข คนไทยห่างไกลโรคภัย จากการดำเนินงานส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค ที่ผ่านมาของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรู พบว่ามีเด็กจำนวน 330 คน ไม่รวมเด็กที่เคลื่อนย้ายออกนอกพื้นที่พร้อมกับผู้ปกครอง เกิน 6 เดือน และเด็กนอกพื้นที่ เด็กได้รับวัคซีน ครบชุดตามเกณฑ์ 1 ปี ร้อยละ 94.94เด็กรับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 2 ปี ร้อยละ 94.05 เด็กได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 3 ปี ร้อยละ 95.59 และวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 5 ปี ร้อยละ 88.33 ( ข้อมูลจากรายงาน VAC 3.1,3.2) พบว่าเด็กที่ไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ส่วนใหญ่จะมาจากครอบครัวไม่ให้ความสำคัญกับการรับวัคซีนของเด็ก ครอบครัวห่วงลูกหลานแบบผิด คือ กลัวลูกหลานเจ็บเมื่อมาฉีดวัคซีนโดยไม่กลัวการระบาดของโรคที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ครอบครัวมีความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับการรับวัคซีนผู้ปกครองขาดความตระหนักเกี่ยวกับการรับวัคซีน ขาดแรงจูงใจในการมารับวัคซีน และไม่มีความรู้เรื่องผลข้างเคียงของวัคซีนที่รับ จึงควรเร่งส่งเสริมป้องกันโรคดังกล่าวร่วมกับโรคอื่นที่ยังไม่มีการระบาดที่สามารถควบคุมได้ด้วยวัคซีนให้อยู่ในขอบเขตที่ควบคุมได้ เพื่อให้การดำเนินงานบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคขั้นพื้นฐานในเด็ก 0- 5 ปี มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาแดรู จึงจัดทำโครงการ " รักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์ " ในปี 2560 ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาแดรู มีภูมิคุ้มกันโรค และมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและเป็นบันไดขั้นพื้นฐานที่จะนำสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าเป็นอนาคตของชาติและเพื่อสร้างจิตสำนึกแก่บิดา มารดา และผู้ปกครองให้ตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในบุตรอันเป็นที่รักที่กำลังเติบโตเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่เกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน 2. เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90 3. เพื่อสร้างจิตสำนึก/ เจตคติที่ดี แก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5ปี
    2. ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด
    3. ผู้ไม่ยินยอมฉีดวัคซีนมีสัดส่วนที่ลดลง
    4. มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5ปี
    2. ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด
    3. ผู้ไม่ยินยอมฉีดวัคซีนมีสัดส่วนที่ลดลง
    4. มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่เกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน 2. เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90 3. เพื่อสร้างจิตสำนึก/ เจตคติที่ดี แก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่เกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน 2. เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90 3. เพื่อสร้างจิตสำนึก/ เจตคติที่ดี แก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรักลูกน้อย รับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60L4145 - 13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด