กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเสงี่ยม หีมปอง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8009-05-03 เลขที่ข้อตกลง 003/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มกราคม 2564 ถึง 11 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อทำการคัดกรองและให้ความรู้แก่ประชาชนปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (COVID-19) (2) ข้อที่ 2 เพื่อทำการคัดกรองสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะต่างๆในเขตพื้นที่ รับผิดชอบปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด - 19 (3) ข้อที่ 3 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงได้มีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย (4) ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โควิด -19 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองกลุ่มที่มาจากพื้นที่เสี่ยง ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมาก และมีการแพร่ระบาดไปยังพื้นที่จังหวัดต่างๆ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดระลอกใหม่ โดยในพื้นที่จังหวัดสตูลได้ตรวจพบผู้ติดเชื้อแล้วจำนวน ๒ ราย ด้วยคำสั่งจังหวัดสตูล ที่ ๒๗๔๖/๒๕๖๓ เรื่องมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จังหวัดสตูล สั่ง ณ วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ เพื่อยกระดับมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) ในพื้นที่จังหวัดสตูล ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนเขตพื้นที่ด้วยมาตรการเชิงรุก ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ ในเขตพื้นที่อำเภอทุ่งหว้า มีผู้ป่วยติดเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19 จึงมีความจำเป็นต้องมีการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง แต่ยังขาดเครื่องมือในการตรวจคัดกรอง วัสดุอุปกรณ์ ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อทำการคัดกรองและให้ความรู้แก่ประชาชนปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (COVID-19)
  2. ข้อที่ 2 เพื่อทำการคัดกรองสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะต่างๆในเขตพื้นที่ รับผิดชอบปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด - 19
  3. ข้อที่ 3 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงได้มีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย
  4. ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โควิด -19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มที่มาจากพื้นที่เสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรอบรู้ในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (COVID-19)
      2. สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะต่างๆในเขตพื้นที่ รับผิดชอบปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด - 19   3. ประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงได้มีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มที่มาจากพื้นที่เสี่ยง

วันที่ 28 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนวางแผนงาน
      - วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
      - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
      - ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
      - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)
        เพื่อปฏิบัติการเชิงรุก                 ขั้นตอนการดำเนินงาน
        - จัดชุด/เวรออกตรวจคัดกรอง ตามบ้านที่กลุ่มเสียงหรือเข้ามาพักอาศัย  และให้ความรู้แก่ผู้กลับจากพื้นที่เสี่ยง ญาติ           คนที่อยู่
          ในพื้นที่ใกล้เคียง
                - สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด -19 (COVID-19)
รายงาน ณ วันที่ 25  เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน                                                 เทศบาลตำบลทุ่งหว้า อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 3                               บ้านในบ้าน ตำบลทุ่งหว้า

1.หลักการและเหตุผล                     จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมาก และมีการแพร่ระบาดไปยังพื้นที่จังหวัดต่างๆ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดระลอกใหม่ โดยในพื้นที่จังหวัดสตูลได้ตรวจพบผู้ติดเชื้อแล้วจำนวน ๒ ราย ประกอบกับคำสั่งจังหวัดสตูล ที่ ๒๗๔๖/๒๕๖๓ เรื่องมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จังหวัดสตูล  สั่ง ณ วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ เพื่อยกระดับมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) ในพื้นที่จังหวัดสตูล ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมี การดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนเขตพื้นที่ด้วยมาตรการเชิงรุก ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ  ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ และในเขตพื้นที่อำเภอทุ่งหว้า ได้มีผู้ป่วยติดเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19 จำนวน 2 แล้ว  จึงมีความจำเป็นต้องมีการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง ในเชิงรุก  แต่ยังขาดเครื่องมือในการดำเนินงาน เช่น เครื่องตรวจคัดกรอง วัสดุอุปกรณ์ใชในการป้องกันตนเองและกลุ่มเสี่ยง  ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เทศบาลตำบลทุ่งหว้า จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ ข้อ  1  เพื่อทำการคัดกรองประชาชนเชิงรุก และให้ความรู้แก่ประชาชนในการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับการรับสถานการณ์  (COVID-19)
ข้อที่ 2 เพื่อทำการคัดกรองสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด
ชุมชน สาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ  ปฏิบัติตามแนวทางมาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติด เชื้อโควิด – 19 ข้อที่ 3 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงให้ได้รับการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19  ทุกราย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โควิด -19 ใช้ในการลงพื้นที่ตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อเชิงรุก 3. ระยะเวลาดำเนินการ       28  มกราคม  -  11  กุมภาพันธ์ 2564 4. งบประมาณ
69,600.-บาท (-หกหมื่นเก้าพันหกร้อยบาทถ้วน-) งบประมาณของโครงการที่ได้รับการอุดหนุนเป็นเงิน  69,600.-บาท งบประมาณที่ได้ใช้ไปในการดำเนินงานโครงการ 69,600.-บาท งบประมาณคงเหลือ  0.-บาท
5. หน่วยงานที่ขอรับเงินเงินอุดหนุน  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำสบลทุ่งหว้า  และ ผู้ได้รับเงินอุดหนุน ขอรายงานผลการดำเนินโครงการตามบันทึกข้อตกลงเลขที่...003/2564  วันที่.....22....เดือนมกราคม 2564  ได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการเมื่อวันที่.28..เดือนมกราคม 2564 และเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่...11.....เดือนกุมภาพันธ์  พ.ศ.2564
5.1 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งสำเนาเอกสาร ใบเสร็จรับเงิน หรือเอกสารหลักฐานอื่น
จำนวน 1 ชุด  จำนวนเงิน 69,600.-บาท (-หกหมื่นเก้าพันหกร้อยบบาทถ้วน-) ของการดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนมาพร้อมหนังสือฉบับนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป 5.2 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเงินงบประมาณคงเหลือ 0.-บาท  (ถ้ามี) 6. ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ  คือ 6.1 ประชาชนเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและครอบครัว จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  โดยการเว้นระยะห่างทางสังคม ล้างมือบ่อย ๆ สวมใส่หน้ากากอนามัย  ร้อยละ 100
    6.2. สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก ศาสนาสถาน สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะ ต่างๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบปฏิบัติตนตามแนวทางมาตรการความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด-19
6.2 ประชาชนที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงมีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย
หมายเหตุ ในกรณีผู้ที่เดินทางจากพื้นที่ควบคุมที่ได้รับการพิจารณาจากสาธารณสุขอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านให้กักตัวใอยู่ใน Home Quarantine (HQ)  อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ที่ได้รับมอบหมายลงพื้นที่ตรวจคัดกรองเข้มงวด 11 วัน

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่วนที่ 3 สรุปผลการดำเนินงาน โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด -19 (COVID-19)
รายงาน ณ วันที่ 25 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564             ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน             เทศบาลตำบลทุ่งหว้า อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน ตำบลทุ่งหว้า 1.หลักการและเหตุผล     จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมาก และมีการแพร่ระบาดไปยังพื้นที่จังหวัดต่างๆ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดระลอกใหม่ โดยในพื้นที่จังหวัดสตูลได้ตรวจพบผู้ติดเชื้อแล้วจำนวน ๒ ราย ประกอบกับคำสั่งจังหวัดสตูล ที่ ๒๗๔๖/๒๕๖๓ เรื่องมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จังหวัดสตูล สั่ง ณ วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ เพื่อยกระดับมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) ในพื้นที่จังหวัดสตูล ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมี การดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนเขตพื้นที่ด้วยมาตรการเชิงรุก ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ และในเขตพื้นที่อำเภอทุ่งหว้า ได้มีผู้ป่วยติดเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19 จำนวน 2 แล้ว จึงมีความจำเป็นต้องมีการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง ในเชิงรุก แต่ยังขาดเครื่องมือในการดำเนินงาน เช่น เครื่องตรวจคัดกรอง วัสดุอุปกรณ์ใชในการป้องกันตนเองและกลุ่มเสี่ยง ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เทศบาลตำบลทุ่งหว้า จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ ข้อ 1 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนเชิงรุก และให้ความรู้แก่ประชาชนในการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับการรับสถานการณ์ (COVID-19)
ข้อที่ 2 เพื่อทำการคัดกรองสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด
ชุมชน สาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ปฏิบัติตามแนวทางมาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติด เชื้อโควิด – 19 ข้อที่ 3 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงให้ได้รับการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โควิด -19 ใช้ในการลงพื้นที่ตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อเชิงรุก 3. ระยะเวลาดำเนินการ   28 มกราคม - 11 กุมภาพันธ์ 2564 4. งบประมาณ
69,600.-บาท (-หกหมื่นเก้าพันหกร้อยบาทถ้วน-) งบประมาณของโครงการที่ได้รับการอุดหนุนเป็นเงิน 69,600.-บาท งบประมาณที่ได้ใช้ไปในการดำเนินงานโครงการ 69,600.-บาท งบประมาณคงเหลือ 0.-บาท
5. หน่วยงานที่ขอรับเงินเงินอุดหนุน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำสบลทุ่งหว้า และ ผู้ได้รับเงินอุดหนุน ขอรายงานผลการดำเนินโครงการตามบันทึกข้อตกลงเลขที่...003/2564 วันที่.....22....เดือนมกราคม 2564 ได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการเมื่อวันที่.28..เดือนมกราคม 2564 และเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่...11.....เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2564
5.1 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งสำเนาเอกสาร ใบเสร็จรับเงิน หรือเอกสารหลักฐานอื่น
จำนวน 1 ชุด จำนวนเงิน 69,600.-บาท (-หกหมื่นเก้าพันหกร้อยบบาทถ้วน-) ของการดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนมาพร้อมหนังสือฉบับนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป 5.2 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเงินงบประมาณคงเหลือ 0.-บาท (ถ้ามี) 6. ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ คือ 6.1 ประชาชนเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและครอบครัว จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยการเว้นระยะห่างทางสังคม ล้างมือบ่อย ๆ สวมใส่หน้ากากอนามัย ร้อยละ 100
  6.2. สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก ศาสนาสถาน สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะ ต่างๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบปฏิบัติตนตามแนวทางมาตรการความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด – 19
6.2 ประชาชนที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงมีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19
ทุกราย
หมายเหตุ ในกรณีผู้ที่เดินทางจากพื้นที่ควบคุมที่ได้รับการพิจารณาจากสาธารณสุขอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ให้กักตัวใอยู่ใน Home Quarantine (HQ) อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ที่ได้รับมอบหมายลงพื้นที่ตรวจ คัดกรองเข้มงวด 11 วัน
ร่วมกับใช้ใช้มาตรการ DMHTT คือ D คือ เว้นระยะห่าง M คือ สวมหน้ากากอนามัย H คือ ล้างมือบ่อย ๆ T คือ ตรวจวัดอุณหภูมิ T คือ ติดตั้งแอฟไทยชนะ ในการดำเนินการลงพื้นที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตามมาตราการเชิงรุกปรากฎว่าในเขตเทศบาลตำบลทุ่งหว้าไม่พบผู้ติดเชื้อจากโรคโควิด-19 และประชาชนได้ป้องกันตนเองและครอบครัวอย่างถูกต้อง โดยการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ และการเว้นระยะห่าง ไม่ออกนอกพื้นที่โดยไม่จำเป็น 5. ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อทำการคัดกรองและให้ความรู้แก่ประชาชนปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ๑. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเอง ร้อยละ 90
100.00 90.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อทำการคัดกรองสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะต่างๆในเขตพื้นที่ รับผิดชอบปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด - 19
ตัวชี้วัด : ๒.สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะต่างๆในเขตพื้นที่ รับผิดชอบปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด - 19 ไม่มีผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงได้มีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย
ตัวชี้วัด : ๓.ประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงได้มีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย
100.00 90.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โควิด -19
ตัวชี้วัด : 4. มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับป้องกันโรคแก่ประชาชน/กลุ่มเสี่ยง/เจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
100.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อทำการคัดกรองและให้ความรู้แก่ประชาชนปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (COVID-19) (2) ข้อที่ 2 เพื่อทำการคัดกรองสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ สถานประกอบการ ตลาดนัด ชุมชน สาธารณะต่างๆในเขตพื้นที่ รับผิดชอบปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการให้มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด - 19 (3) ข้อที่ 3 เพื่อทำการคัดกรองประชาชนในพื้นที่และผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงได้มีการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อโควิด – 19 ทุกราย (4) ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โควิด -19 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองกลุ่มที่มาจากพื้นที่เสี่ยง ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)

รหัสโครงการ 64-L8009-05-03 รหัสสัญญา 003/2564 ระยะเวลาโครงการ 28 มกราคม 2564 - 11 กุมภาพันธ์ 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8009-05-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสงี่ยม หีมปอง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด