กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย


“ โครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุกกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มด้อยโอกาส ”

ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธัญญาลักษณ์ พรหมเพชร

ชื่อโครงการ โครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุกกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มด้อยโอกาส

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3335-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุกกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มด้อยโอกาส จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุกกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มด้อยโอกาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุกกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มด้อยโอกาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3335-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาอุบัติเหตุอุบัติภัยและโรคไม่ติดต่อที่กลายเป็นปัญหาหลักและเป็นสาเหตุของการเพิ่มจำนวนผู้พิการจากโรคดังกล่าวแล้ว ผู้พิการเหล่านั้นยังต้องทนทุกข์ทรมานอยู่กับสภาพความพิการและที่สำคัญ ยังเป็นภาระของครอบครัว รวมทั้งของสังคมที่ต้องรับผิดชอบดูแลคนพิการเหล่านี้อีกด้วย ปัญหาที่ผู้พิการไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ในชุมชน ถูกทอดทิ้งโดยเฉพาะผู้พิการทางพฤติกรรมและผู้พิการทางสติปัญญาทำให้เกิดปัญหาต่อครอบครัว สังคมและชุมชน ปัญหาด้านทันตกรรมสำหรับผู้พิการถือเป็นปัญหาที่สำคัญในการดูแลสุขภาพผู้พิการให้แข็งแรงและไม่เป็นโรคแทรกซ้อน ในการดูแลผู้พิการควรดูแลโดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และช่องปากควบคู่กันไป ซึ่งกลุ่มผู้พิการเหล่านี้มักมีปัญหาด้านสุขภาพหลายด้าน ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริหารได้เท่าที่ควร ทั้งนี้ ทาง เทศบาลตำบลดอนทราย ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง การดูแลสุขภาพช่องปากของผู้พิการในพื้นที่และจำเป็นที่ผู้พิการควรได้รับการดูแลด้านการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อลดการสูญเสียฟันอย่างเป็นระบบ ทั้งการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง การรับบริการส่งเสริมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้พิการมีสุขภาพช่องปากดี สามารถดำรงตนอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกทราย ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลดอนทราย จึงกำหนดจัดกิจกรรมโครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564ขึ้นโดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากเพื่อให้กลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง รวมถึงผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักเห็นความสำคัญของการดูแลด้านการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก มีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มผู้พิการ เพื่อให้ผู้พิการมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง สุขภาพจิตที่แจ่มใสสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยไม่รู้สึกว่าถูกทอดทิ้งจากสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
  2. เพื่อให้ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปากแทรกซ้อน
  3. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เพื่อส่งต่อแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก
  2. การดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี (สาธิต/ฝึกปฏิบัติ)
  3. ให้ความรู้เรื่องโรคที่พบในช่องปากและการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมสำหรับผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง การป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก เพื่อส่งต่อแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากต่อไป 2 ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปาก 3 ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เพื่อส่งต่อแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก

วันที่ 5 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 70 บาท จำนวน  75 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 70 บาท จำนวน  75 คน

 

0 0

2. การดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี (สาธิต/ฝึกปฏิบัติ)

วันที่ 5 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 75 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 75 คน

 

0 0

3. ให้ความรู้เรื่องโรคที่พบในช่องปากและการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมสำหรับผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง การป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในช่องปาก

วันที่ 5 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 วันๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 วันๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
ตัวชี้วัด : ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก เพื่อส่งต่อแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากต่อไป ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปากแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปาก ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ (2) เพื่อให้ผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปากแทรกซ้อน (3) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง เพื่อส่งต่อแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก (2) การดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี (สาธิต/ฝึกปฏิบัติ) (3) ให้ความรู้เรื่องโรคที่พบในช่องปากและการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมสำหรับผู้ดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง การป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเข้าถึงทันตกรรมเชิงรุกกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มด้อยโอกาส จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3335-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธัญญาลักษณ์ พรหมเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด