กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.วังยาง
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2564
งบประมาณ 23,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกาญจนา หยวกกลิ่น
พี่เลี้ยงโครงการ สาธารณสุขอำเภอคลองขลุง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวังยาง อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร
ละติจูด-ลองจิจูด 16.209267,99.76788place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 ธ.ค. 2563 31 ส.ค. 2564 23,100.00
รวมงบประมาณ 23,100.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย และร้านค้า
64.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงและการบาดเจ็บของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ปี พ.ศ 2560 ในส่วนของการบริโภคเกลือ คนไทยส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจผิดว่า สิ่งที่ให้ความเค็มหรือเกลือโซเดียมมีอยู่ในเกลือหรือน้ำปลาเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องปรุงรส เช่น ซอส ผงปรุงรส ผงชูรส รวมไปถึงอาหารกึ่งสำเร็จรูปต่างๆ เช่น บะหมี่-โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป ปลากระป๋อง ขนมกรุบกรอบ ล้วนมีสารให้ความเค็ม (เกลือโซเดียม) เป็นส่วนประกอบ ล่าสุดพบคนไทยบริโภคเกลือโซเดียมเฉลี่ย 4,351.7 มิลลิกรัมต่อวันหรือกว่า 2 ช้อนชา เกินกว่าที่องค์การอนามัยโลกคือ 2,000 มิลลิกรัมหรือ 1 ช้อนชาต่อวัน และกลุ่มอายุ 25-59 ปี เป็นกลุ่มอายุที่กินเค็มมากที่สุด โดยการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับ 2 ที่ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง นำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ที่มีแนวโน้มเพิ่งสูงขึ้น ซึ่งโรคดังกล่าวป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคลดหวาน มัน เค็ม ในชุมชนบ้านวังน้ำ หมู่ 4 ตำบลวังยาง มีผู้ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังจำนวน 8 คน มีผุ้ป่วยโรคเบาหวาน 44 คน โรคความดันโลหิตสูง 114 คน และมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เสี่ยงความดันโลหิตสูง และเสี่ยงโรคไตอีกจำนวนหนึ่งด้วย โดยส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ จากการบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย ไม่ปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. (ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่) ทำให้มีภาวะอ้วนลงพุง ปัญหารอบเอวเกินและขาดการตรวจสุขภาพเพื่อคัดกรองโรคประจำปี จึงทำให้เกิดโรคต่างๆตามมา ส่งในทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร จากโครงการชาวชุมชนคนไทดำวังน้ำส่งเสริมการดูแลสุขภาพเพื่อหลีกเลี่ยงโรคไม่ติดต่อ ปี 2563 ในการจัดทำโครงการได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรมและแบบประเมินความเสี่ยงนคร 2 ส.และตรวจค่าการกรองของไต (eGFR) ของผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และในปีงบประมาณ 2564 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยางจึงจัดทำโครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ เพือคนข้อมูลจากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรมและแบบประเมินความเสี่ยง นคร 2 ส. และผลการตรวจค่าการกรองของไต (eGFR) ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และได้เล็งเห็นความสำคัญของการบริโภคอาหารจึงมีการเชิญชวนร้านค้าจำนวน 4 ร้าน ในหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการด้วย การส่งเสริมประชาชนในหมู่บ้นให้ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและเกลือ ออกกำลังกาย และการจัดการความเครียดรวมทั้งไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุราได้นั้นจะช่วยให้สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยางเล็งเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นโดยการป้องกันให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแตนเองเพื่อไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วยและเพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมอาการตนเองและลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้โดยการดำเนินงานโดยภาคีเครือข่ายในระดับต่างๆ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องและสามารถขยายแนวทางการดำเนินงานให้กับหมู่บ้านอื่นต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงในชุมชนบ้านวังน้ำ 2. เพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยในชุมชนบ้านวังน้ำ 3. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบบริการ/การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยในพื้นที่ชุมชนบ้านวังน้ำ 4.เพื่อส่งเสริมความรู้การปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 5.เพื่อให้หมู่บ้านเป็นตัวอย่าง หมู่บ้าน ลดเค็ม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ

1.ลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 10 คน 2.มีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรมมอาหารมากขึ้นจำนวน 10 คน

64.00 52.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 23,100.00 0 0.00
1 ก.พ. 64 - 31 ส.ค. 64 โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ 0 23,100.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดชุมชน ลดโรค ลดภัยสุขภาพ อย่างยั่งยืน 2 ร้านค้า/ร้านอาหารในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมเมนูอาหารลดเค็ม ลดโซเดียม
3 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมสามารถอ่านค่าโซเดียม และคำนวณโซเดียมที่ควรบริโภคต่อวันของตนเองได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ม.ค. 2564 22:02 น.