กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ2564 ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายซอบรี มณีหิยา




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ2564

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-03 เลขที่ข้อตกลง 5

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4117-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อเป็นปัญหาหรือวิกฤติด้านสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย เป็นต้น ซึ่งในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก เพราะการติดต่อและแพร่ระบาดของโรครวดเร็วขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนในแง่การเจ็บไข้ได้ป่วย การพิการและการเสียชีวิตของประชาชน เนื่องจากความรุนแรงของโรค ซึ่งประชาชนมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและภัยสุขภาพด้วยกันทุกคน โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรค ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน วางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นต่อของปัญหาการเกิดโรคได้ ซึ่งข้อมูลสถานการณ์โรคติดต่อโดยแมลงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละที่ผ่านมา ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๖3 – ธันวาคม ๒๕๖3 พบว่าประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก มีจำนวน 32 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 570.00 ต่อแสนประชากร ( เป้าหมายต้องไม่เกิน ๔๐๐ ต่อแสนประชากร ) และป่วยด้วยโรคมาลาเรีย มีจำนวน 15 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 267.20 ต่อแสนประชากร จากข้อมูลสถานการณ์โรติดต่อโดยแมลงข้างต้นนั้น จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน สร้างผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจการประกอบอาชีพของผู้ป่วยและครอบครัว รวมถึงส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายทางภาครัฐด้านการรักษาพยาบาลส่งผลให้เกิดความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศตามลำดับนั้น ดังนั้นการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพนี้ จึงต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องต่อไปเพื่อลดผลกระทบจากโรคที่เกิดขึ้นนี้ไม่ให้แพร่กระจาย และไม่ให้เป็นปัญหาในพื้นที่จึงมีความจำเป็นต้องอาศัยหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ในการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา พร้อมทั้งประสานการดำเนินงานให้สามารถควบคุมการระบาดให้สงบได้อย่างรวดเร็วอย่างทันท่วงที ตลอดจนการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับทัพยากรในชุมชน และเทคโนโลยี เกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคดังกล่าวที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตลอดจนนำไปสู่การมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอย่างถ้วนหน้าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง
  2. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงในชุมชน
  3. เพื่อให้บุคคล ครอบครัวและชุมชนมีความตื่นตัวในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคติดต่อนำโดยแมลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพ่นหมอกควันในโรงเรียน วัด มัสยิด ปอเนาะในเขตรับผิดชอบ
  2. กิจกรรมปฏิบัติการพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออกและบ้านใกล้เคียง
  3. กิจกรรมพ่นสารเคมีตกค้าง 25% ของหลังคาเรือนในพื้นที่ชุมชนที่มีการระบาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนมีความตระหนักในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้นสามารถควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อนำโดยแมลงได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้บุคคล ครอบครัวและชุมชนมีความตื่นตัวในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคติดต่อนำโดยแมลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง (2) เพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงในชุมชน (3) เพื่อให้บุคคล ครอบครัวและชุมชนมีความตื่นตัวในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคติดต่อนำโดยแมลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นหมอกควันในโรงเรียน วัด มัสยิด ปอเนาะในเขตรับผิดชอบ (2) กิจกรรมปฏิบัติการพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออกและบ้านใกล้เคียง (3) กิจกรรมพ่นสารเคมีตกค้าง 25% ของหลังคาเรือนในพื้นที่ชุมชนที่มีการระบาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอบรี มณีหิยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด