กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ตำบลควนสตอ ปี 2564 ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายจักรกฤษณ์ พิชัยรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ตำบลควนสตอ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5284-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ตำบลควนสตอ ปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ตำบลควนสตอ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ตำบลควนสตอ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5284-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขอย่างมาก ในระยะ 60 ปี ที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการระบาดของโรคครั้งแรกในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2501 อัตราอุบัติการณ์ของโรคมีแนวโน้มสูงขึ้นมาโดยตลอด นอกจากนี้ได้มีการแพร่กระจายของโรคไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการคมนาคมสะดวก ผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในระยะที่ผ่านมายังไม่สามารถลดโรคได้ตามเป้าหมายที่กำหนด กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้พยายามหาแนวทางแก้ไข้อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออก การใช้ทรายทีมีฟอสกำจัดลูกน้ำยุงลาย การใช้สารเคมีพ่นหมอกควันทำลายยุงตัวแก่ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวในระยะแรก เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในระดับต่างๆ จะเป็นผู้ดำเนินการ แต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ลดลงได้ เมื่อพิจารณาปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคที่สำคัญที่สุด คือ ความตระหนัก และความร่วมมือกันของประชาชนทุกครัวเรือนในชุมชน ในการทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย ยังไม่จริงจังและขาดความต่อเนื่อง ซึ่งเป็นหัวใจหลักของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคยังไม่ชัดเจน เนื่องจากโรคไข้เลือดออกซึ่งมีสาเหตุเกิดจากยุงลายกัด ทำให้คนในหมู่บ้านป่วย และเสียค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล และอาจเสียชีวิตได้ ในขณะเดียวกันการระบาดของโรคก็เป็นไปได้ง่ายและรวดเร็ว นับเป็นปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีมาตรการควบคุม ป้องกัน การเกิดและการระบาดของโรคไข้เลือดออก ให้มีความต่อเนื่องและมีความเป็นรูปธรรม โดยคนในครัวเรือน ชุมชน ได้มีส่วนร่วม ในการควบคุม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง ในบ้านและบริเวณบ้านของตัวเอง อย่างจริง จังและต่อเนื่อง ซึ่งจะนำไปสู่ความปลอดจากโรคไข้เลือดออก และการมีสุขภาพดีต่อไป ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกปี 2564 ตำบลควนสตออำเภอควนโดน จังหวัดสตูลขึ้น เพื่อฟื้นฟูความรู้และวิชาการที่ทันสมัย และถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อให้แกนนำสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อพัฒนาเพื่อพัฒนาศักยภาพทีม CDCUและ เครือข่าย ข้อที่ 2เพื่อส่งเสริมการทำงานแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 3เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการควบคุมโรคไข้เลือดออก สามารถค้นหาปัญหาและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2564 ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทีมเฝ้าระวังสืบสวนเคลื่อนที่เร็ว มี่ความรู้ความเข้าใจ ในการดำเนินงานและสามารถ
ดำเนินงานควบคุมโรคเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว 2. ชุมชนและประชาชนมีการทำงานร่วมกันในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. เกิดการสร้างเครือข่ายการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในระดับพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อพัฒนาเพื่อพัฒนาศักยภาพทีม CDCUและ เครือข่าย ข้อที่ 2เพื่อส่งเสริมการทำงานแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 3เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการควบคุมโรคไข้เลือดออก สามารถค้นหาปัญหาและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของทีม CDCUและเครือข่ายเข้าร่วมการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 80 ขอทีม CDCUและเครือข่ายมีการส่งรายงานการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80 ของทีม CDCUและเครือข่ายทราบการเกิดโรคและมีการแจ้งข่าวการเกิดโรคไข้เลือดออกและสถานการณ์ที่ผิดปกติในพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อพัฒนาเพื่อพัฒนาศักยภาพทีม CDCUและ เครือข่าย ข้อที่ 2เพื่อส่งเสริมการทำงานแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 3เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการควบคุมโรคไข้เลือดออก สามารถค้นหาปัญหาและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2564 ตำบลควนสตอ  อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ตำบลควนสตอ ปี 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5284-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจักรกฤษณ์ พิชัยรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด