กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกลภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564 ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิเชียร นาศรี

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกลภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5171-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกลภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกลภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกลภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5171-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช (Pesticides) เข้ามีบทบาทและใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง และส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่สะท้อนให้เห็นสถานการณ์อย่างชัดเจน คือข้อมูลปริมาณการนำเข้าสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี โดยสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีการใช้มากที่สุด ได้แก่ สารกำจัดศัตรูพืช สารกำจัดแมลง สารกำจักโรคพืช เป็นต้น แนวโน้มการนำสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชมาใช้ยังคงมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าสารเคมีดังกล่าวจะมีหลักฐานและข้อมูลทางวิชาการแสดงถึงความเป็นพิษต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจนและทุกคนมีโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับสารพิษทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่ใช้สารเคมีโดยตรง หรือกลุ่มผู้บริโภคพืชผักที่มีสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตกค้างในพืชผัก ซึ่งส่วนใหญ่มีผลต่อสุขภาพทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังการแก้ไข้ปัญหาและควบคุมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เพื่อคุ้มครองสุขภาพทั้งเกษตรกรและผู้บริโภคเป็นบทบาทที่ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการลดปริมาณการใช้ และการเฝ้าระวังการได้รับสารพิษจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช เป็นสิ่งสำคัญที่ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นประโยชน์ในการให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเปรียง มีการดำเนินงานดูแลสุขภาพเกษตรกรมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกษตรมีความตระหนักถึงโอกาสเสี่ยงในการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและการป้องกันตนเอง จากการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งได้มีการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเกษตรกรโดยการเจาะเลือดหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส จำนวน  217 คน ผลเลือดปติ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 7.38 ปลอดภัย จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 33.18 มีความเสี่ยง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 29.96 และไม่ปลอดภัย จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 29.5 จากกลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรองหาสารเคมีในเลือด มีความเสี่ยงจำนวน 65 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 64 คน จึงได้นำกลุ่มเสี่ยงและไม่ปลอดภัยที่ประสงค์จะเข้ารับบริการขจัดสารเคมีในเลือด จำนวน 89 คน เข้ารับการขับสารพิษโดยรางจืด ติดต่อกันเป็นเวลา 1 เดือน เพื่อทำการเจาะเลือดซ้ำในครั้งที่ 2 ผลปรากฏว่า การขับสารพิษด้วยรางจืด สามารถลดสารเคมีในกระแสเลือดให้อย฿ในระดับที่ลดลงได้ ร้อยละ 58.43 จึงควรมีการเฝ้าระวัง ดำเนินการให้เกษตรกและผู้บริโภคได้ดูแลสุขภาพตนเองร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเหรียง จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกล ภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริจาคมีความรู้และตระหักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  2. 2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยได้รับการขับสารพิษโดยรางจืด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจ ในการป้องกันตนเองจากอันตรายของการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
    2. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยสามารถลดสารเคมีในกระแสเลือดให้อยู่ในระดับที่ลดลงได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริจาคมีความรู้และตระหักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
    ตัวชี้วัด : ร้องละ 80 ของเกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ ประเมินความเสี่ยงและตรวจเลือดหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส
    0.00

     

    3 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยได้รับการขับสารพิษโดยรางจืด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยได้รับการขับสารพิษโดยรางจืด
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริจาคมีความรู้และตระหักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (2) 2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยได้รับการขับสารพิษโดยรางจืด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเกษตรกรปลอดโรคห่างไกลภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2564 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5171-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิเชียร นาศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด