กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการพลังหนูน้อยและชุมชนคนบาละ ห่างไกลโรค NCD ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูกายนาห์ ดูละสะ

ชื่อโครงการ โครงการพลังหนูน้อยและชุมชนคนบาละ ห่างไกลโรค NCD

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-13 เลขที่ข้อตกลง 9

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพลังหนูน้อยและชุมชนคนบาละ ห่างไกลโรค NCD จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังหนูน้อยและชุมชนคนบาละ ห่างไกลโรค NCD



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพลังหนูน้อยและชุมชนคนบาละ ห่างไกลโรค NCD " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4117-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคเบาหวาน กำลังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทยที่รุมเร้า และคร่าชีวิตของมนุษย์มากขึ้น ดูได้จากอัตราการเสียชีวิตในโรคดังกล่าวที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง คนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า 12 ล้านคน แต่มีผู้เข้าถึงการรักษาและขึ้นทะเบียนเพียง 4 ล้านคน ซึ่งควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ได้เพียงร้อยละ 29.7 แสดงให้เห็นว่า มาตรการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงที่ผ่านมา ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ความดันโลหิตในคนไทยลดลง ยังเกิดโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น ที่ป่วยแล้วยังเข้าไม่ถึงบริการมากกว่าครึ่งตลอดจนการวินิจฉัย/การรักษาก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร สถานการณ์โรคไม่ติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 134 ราย โรคความดันโลหิตสูง 347 ราย ซึ่งพบว่าทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีอัตราป่วยค่อนข้างสูง สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พบมากในคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ปัจจุบันตังแต่ปี พ.ศ.2560 – พ.ศ.2564พบในกลุ่มอายุต่ำสุด อายุ 22 ปี ทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละได้วิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวเพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหาดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการให้ความรู้ในทุกกลุ่มอายุ การค้นหาผู้ป่วยและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มุ่งเน้นการปฏิบัติตัว การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ฝึกทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วยร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ญาติผู้ป่วย และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังป้องกันโรคไม่ติดต่อและแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน
  2. เพื่อให้นักเรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพด้าน 3 อ.
  3. เพื่อกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้มีความรู้ในการปฏิบัติตัว
  4. เพื่อสุ่มบ้านพร้อมลงให้ข้อมูลการบริโภคเครื่องปรุงในครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเฝ้าระวังน้ำหนักเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อลดลง และไม่เกิดโรคในกลุ่มอายุที่น้อยกว่า 35 ปีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานสามารถควบคุมเพื่อไม่ให้ได้รับการวินิจฉัยโรคไม่ติดต่อ และกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเฝ้าระวังน้ำหนักเด็ก

วันที่ 16 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. กิจกรรมเฝ้าระวังนำหนักเด็กและชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง เด็กนักเรียนตรวจร่างกายเด็กนักเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน โดยใช้แบบฟอร์มคัดกรองสุขภาพนักเรียนในสถานศึกษา เพื่อหานักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
    3.เจาะน้ำตาลปลายนิ้วเพื่อหาระดับน้ำตาลในเด็กกลุ่มเสี่ยง
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCD
  4. อบรมทฤษฏีโรค NCD การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวิธี 3 อ
    6.ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายสำหรับเด็กอ้วน
  5. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พบมากในคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ปัจจุบันตังแต่ปี พ.ศ.2560 – พ.ศ.2564พบในกลุ่มอายุต่ำสุด อายุ 22 ปี ทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละได้วิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวเพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหาดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการให้ความรู้ในทุกกลุ่มอายุ การค้นหาผู้ป่วยและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มุ่งเน้นการปฏิบัติตัว การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ฝึกทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วยร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ญาติผู้ป่วย และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังป้องกันโรคไม่ติดต่อและแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพด้าน 3 อ.
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้มีความรู้ในการปฏิบัติตัว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสุ่มบ้านพร้อมลงให้ข้อมูลการบริโภคเครื่องปรุงในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังป้องกันโรคไม่ติดต่อและแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน (2) เพื่อให้นักเรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพด้าน 3 อ. (3) เพื่อกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้มีความรู้ในการปฏิบัติตัว (4) เพื่อสุ่มบ้านพร้อมลงให้ข้อมูลการบริโภคเครื่องปรุงในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังน้ำหนักเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพลังหนูน้อยและชุมชนคนบาละ ห่างไกลโรค NCD จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสูกายนาห์ ดูละสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด