กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชน ร่วมใจ ห่วงใย ผู้ป่วยจิตเวช รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส ต.บาละ ปี2564 ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาวีณา ยางหาด

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชน ร่วมใจ ห่วงใย ผู้ป่วยจิตเวช รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส ต.บาละ ปี2564

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-08 เลขที่ข้อตกลง 14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชน ร่วมใจ ห่วงใย ผู้ป่วยจิตเวช รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส ต.บาละ ปี2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชน ร่วมใจ ห่วงใย ผู้ป่วยจิตเวช รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส ต.บาละ ปี2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชน ร่วมใจ ห่วงใย ผู้ป่วยจิตเวช รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส ต.บาละ ปี2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4117-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคจิตเวช (Schizophrenia) เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ทำให้เกิดความพิการและสูญเสียเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้เพราะปัญหาสุขภาพจิตไม่ใช่ส่งผลกระทบต่อเฉพาะผู้ป่วยเท่านั้น ยังส่งผลกระทบไปถึงญาติ ผู้ดูแลและบุคคลในสังคม ผู้ป่วยจิตเวชมักขาดโอกาสและการสนับสนุนในสังคม ทำให้ตกเป็นเหยื่อในรูปแบบต่างๆ หรือเสี่ยงต่อการก่อคดีอุกฉกรรจ์ และยังพบว่าญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยก็ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม เป็นโรคที่ก่อให้เกิดภาระสูงในการดูแล และที่สำคัญยังส่งผลให้ผู้ป่วยทางจิตซึ่งมีปัญหาการปรับตัวอยู่แล้วขาดปัจจัยการดูแลช่วยเหลือให้สามารถรักษาภาวะสุขภาพ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีคุณภาพ แม้ในกระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยทางจิตในโรงพยาบาลมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยสามารถ ดำรงชีวิตร่วมกับครอบครัวและชุมชนได้มากขึ้น โดยได้เพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาทั้งด้านการให้ยาและการบำบัดด้านจิตสังคม แต่ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยทางจิต หากได้รับการดูแลต่อเนื่องและได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเช่นคนทั่วไปจากสมาชิกในชุมชน ภายหลังการบำบัดรักษาหรือผู้ป่วยกลับสู่ชุมชนแล้วยังมีอุปสรรคเนื่องจากภายหลังการจำหน่ายจากโรงพยาบาล ผู้ป่วยกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ยังขาดโอกาสจากชุมชนในการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สามารถมีชีวิตในสังคมเช่นคนทั่วไป ซึ่งอุปสรรคส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากตัวผู้ป่วยเอง เช่น การขาดความมั่นใจในการดำเนินชีวิตร่วมกับครอบครัวและผู้อื่น นอกจากนี้สังคมแวดล้อมยังขาดความรู้ ความเข้าใจหรือไม่เห็นความสำคัญของผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตที่นับวันจะมีจำนวนและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น บุคคลในชุมชนรู้สึกกลัว รังเกียจ ไม่เชื่อมั่นในความสามารถของผู้ป่วย มีทัศนคติในทางลบต่อบุคคลที่เจ็บป่วย สภาพเหล่านี้ยิ่งทำให้ผู้ป่วยทางจิตไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและขาดโอกาสในการพัฒนาตนเองในการอยู่ร่วมในสังคมมากยิ่งขึ้นส่งผลให้ผู้ป่วยทางจิตเหล่านี้กลายเป็น ภาระหรือเป็นปัญหาของครอบครัวและสังคมในที่สุด ในพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านคลองน้ำใสมีผู้ป่วยทางจิตเวชจํานวน 18 ราย จากการสํารวจข้อมูลเบื้องต้น และศึกษาแฟ้มประวัติครอบครัว พบว่า สาเหตุเกิดจากปัญหายาเสพติด 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 61.1 จากปัญหาครอบครัวจํานวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.6 และเกิดจากพันธุกรรม จํานวน4 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.2 และ จากการติดตามเยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขพบปัญหาดังนี้ 1. ผู้ป่วยขาดยาเนื่องจากรับประทานต่อเนื่องแล้วดีขึ้นแล้วหยุดยาเอง 2. ผู้ดูแลขาดความรู้ในการดูผู้ป่วยจิตเวช 3. เพื่อนบ้านหวาดระแวงกลัวผู้ป่วยจิตเวชจะทำร้าย 4. แกนนำขาดความรู้ในการนำส่ง รพ.ในกรณีผู้ป่วยอาละวาด ทำร้ายร่างกายหรือสิ่งของ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องเหมาะสม
  3. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน
  4. เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆโดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชและละแวกบ้าน
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำชุมชนในการนำส่งผู้ป่วยจิตเวชที่ต้องได้รับการส่งต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 203
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน
2.อาการกำเริบหรือการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวชลดลง
3.ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระการดูแลของญาติ
4.ภาคีสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนให้ได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชและละแวกบ้าน

วันที่ 30 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำฐานทะเบียนผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนแยกเป็นรายหมู่บ้าน
  2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงานและร่วมกำหนดเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชเรื่อรังในชุมชนที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้านในปี พ.ศ.2563
  3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้เกี่ยวข้อง ร่วมดำเนินการวางแผนพัฒนารูปแบบการมีส่วนรวมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนให้ได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน โดยแบ่งเป็นรายหมู่บ้านในพื้นที่ของตนเองได้แก่ ญาติผู้ดูแล อสม. ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำในชุมชน มอบหมายบทบาทหน้าที่

- ญาติ ดูแลเรื่องการรับประธานยา/รับยาต่อเนื่อง/เฝ้าระวังอาการกำเริบ/สังเกตอาการผิดปกติ ผลข้างเคียงจากยา
- อสม. ประจำครอบครัว ติดตามเยี่ยมบ้านทุก 1 เดือน เฝ้าระวังการขาดยา/รับยาไม่ต่อเนื่อง
- ผู้นำชุมชน/แกนนำ สร้างทัศนคติที่ดี/ให้โอกาส/ไม่สนับสนุน เช่น ชวนดื่มสุรา/เสพสารเสพติด/บุหรี่
- คลินิคสุขภาพจิตโรงพยาบาลกาบังพร้อมทีมเครือข่ายดูแลติดตามเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมครั้งที 1 และครั้งที่ 6
- สนับสนุนให้คำรึกษา/รับส่งต่อกรณีอาการกำเริบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน
2.อาการกำเริบหรือการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวชลดลง
3.ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระการดูแลของญาติ
4.ภาคีสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนให้ได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำชุมชนในการนำส่งผู้ป่วยจิตเวชที่ต้องได้รับการส่งต่อ

วันที่ 31 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำฐานทะเบียนผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนแยกเป็นรายหมู่บ้าน
  2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงานและร่วมกำหนดเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชเรื่อรังในชุมชนที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้านในปี พ.ศ.2563
  3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้เกี่ยวข้อง ร่วมดำเนินการวางแผนพัฒนารูปแบบการมีส่วนรวมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนให้ได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน โดยแบ่งเป็นรายหมู่บ้านในพื้นที่ของตนเองได้แก่ ญาติผู้ดูแล อสม. ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำในชุมชน มอบหมายบทบาทหน้าที่

- ญาติ ดูแลเรื่องการรับประธานยา/รับยาต่อเนื่อง/เฝ้าระวังอาการกำเริบ/สังเกตอาการผิดปกติ ผลข้างเคียงจากยา
- อสม. ประจำครอบครัว ติดตามเยี่ยมบ้านทุก 1 เดือน เฝ้าระวังการขาดยา/รับยาไม่ต่อเนื่อง
- ผู้นำชุมชน/แกนนำ สร้างทัศนคติที่ดี/ให้โอกาส/ไม่สนับสนุน เช่น ชวนดื่มสุรา/เสพสารเสพติด/บุหรี่
- คลินิคสุขภาพจิตโรงพยาบาลกาบังพร้อมทีมเครือข่ายดูแลติดตามเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมครั้งที 1 และครั้งที่ 6
- สนับสนุนให้คำรึกษา/รับส่งต่อกรณีอาการกำเริบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน
2.อาการกำเริบหรือการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวชลดลง
3.ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระการดูแลของญาติ
4.ภาคีสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนให้ได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆโดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 203
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 203
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน (4) เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆโดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชและละแวกบ้าน (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำชุมชนในการนำส่งผู้ป่วยจิตเวชที่ต้องได้รับการส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชน ร่วมใจ ห่วงใย ผู้ป่วยจิตเวช รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส ต.บาละ ปี2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟาวีณา ยางหาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด