โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายชาญวิทย์ พลอยสมบุญ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต
ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4117-2-02 เลขที่ข้อตกลง 2
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4117-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” กรมอนามัยได้กำหนดนิยาม หมายถึง จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของหญิงอายุ 15 - 19 ปี หรือ 10 - 14 ปี ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ โดยองค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15 - 19 ปี (Adolescent birth rate) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่นานาชาติต้องบรรลุให้ได้ภายในปี พ.ศ.2573 โดยได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 - 14 ปี และอายุ 15 - 19 ปี เป็นหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายที่ 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่เพียงแต่เป็นปัญหาด้านสุขภาพ แต่ยังเป็นปัญหาด้านประชากรที่ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอีกด้วย
สถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชนที่ เป็นผลมาจากสภาพแวดล้อม ในปัจจุบันมีความ รุนแรงและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะปัญหา การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ซึ่งองค์การอนามัย โลก (WHO) เปิดเผยเกี่ยวกับสถานการณ์การ ตั้งครรภ์ของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ทั่วโลกในปี 2556 โดยประเทศไทยมีจำนวนสูงถึง 74 : 1,000 หญิงอายุ 15 – 19 ปีซึ่งเป็นอันดับ 2 ในประเทศ กลุ่มอาเซียน จากปัญหาดังกล่าวประเทศไทยได้ มีความตระหนักต่อปัญหาและได้มียุทธศาสตร์ใน การแก้ไขปัญหาและดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นลดลง ทั้งนี้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นที่ยังคงมีความสำคัญที่นานาชาติและประเทศไทยให้ความสำคัญ นับตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา อัตราการเกิดของประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง จนนำไปสู่การคาดการณ์และเตรียมความพร้อมในการเป็นสังคมผู้สูงอายุ ขณะเดียวกันกลับมีข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าในรอบสิบปีที่ผ่านมา วัยรุ่นหญิงมีอัตราการคลอดที่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2555 มีหญิงไทยคลอดทั้งสิ้น 801,777 ราย ในจำนวนนี้เป็นการคลอดของวัยรุ่นหญิงวัยรุ่นหญิงอายุ 15 - 19 ปี จำนวน 129,451 ราย หรือคิดเป็นอัตราการคลอดของวัยรุ่นหญิง 53.8 ราย ต่อประชากรวัยเดียวกัน 1,000 ราย เพิ่มขึ้นจาก 31.1 ราย ต่อ 1,000 รายในปี 2543 จากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นได้รับการกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้กำหนดนโยบายที่มุ่งเน้นการ “บูรณาการ” ทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2553 - 2557) ที่เน้นการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดีในกลุ่มประชากรวัยรุ่นและเยาวชนก่อน ซึ่งจะส่งผลต่อการลดการตั้งครรภ์ การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ในประชากรวัยนี้ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งการดำเนินงานแบบบูรณาการในบทบาทที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ขาดความรู้ในการป้องกันทั้งก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเสี่ยงต่อการทำแท้งผิดกฎหมาย และ ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะเกิดมา คือ ทารกในครรภ์เติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด ทารก น้ำหนักตัวน้อย ภาวะทุพโภชนาการ ครรภ์เป็น พิษ ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด และยังพบ ปัญหาการทำแท้งและทิ้งลูกในกลุ่มแม่วัยรุ่นอยู่ บ่อยครั้ง นอกจากด้านสุขภาพแล้วยังส่งผล กระทบด้านการศึกษาเมื่อตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะขาดโอกาสในการศึกษา ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่วัยรุ่นยังไม่มีอาชีพจึงขาด รายได้ครอบครัวแตกแยก และเป็นภาระของ ครอบครัวหลักถ้าไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง การพัฒนาคุณภาพประชากรต้องเริ่ม ตั้งแต่การเกิด โดยมีการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนตั้งครรภ์ดูแลครรภ์ขณะคลอด และหลัง คลอดทั้งแม่และทารก การเกิดที่มีคุณภาพจะต้อง เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ที่ผู้หญิงมีความพร้อม และตั้งใจ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนนอกจาก เป็นสาเหตุการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์เพิ่มขึ้นด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น
- เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการขอตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
- เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองแลสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถป้องกันการมีเพศสมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- เยาวชนและชุมชนเกิดความกระหนักในการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- เยาวชนมีร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
วันที่ 19 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมเตรียมความพร้อมคณะผู้บริหารสภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละ
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ประสานวิทยากรและกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินกิจกรรมโครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ขาดความรู้ในการป้องกันทั้งก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเสี่ยงต่อการทำแท้งผิดกฎหมาย และ ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะเกิดมา คือ ทารกในครรภ์เติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด ทารก น้ำหนักตัวน้อย ภาวะทุพโภชนาการ ครรภ์เป็น พิษ ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด และยังพบ ปัญหาการทำแท้งและทิ้งลูกในกลุ่มแม่วัยรุ่นอยู่ บ่อยครั้ง นอกจากด้านสุขภาพแล้วยังส่งผล กระทบด้านการศึกษาเมื่อตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะขาดโอกาสในการศึกษา ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่วัยรุ่นยังไม่มีอาชีพจึงขาด รายได้ครอบครัวแตกแยก และเป็นภาระของ ครอบครัวหลักถ้าไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง การพัฒนาคุณภาพประชากรต้องเริ่ม ตั้งแต่การเกิด โดยมีการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนตั้งครรภ์ดูแลครรภ์ขณะคลอด และหลัง คลอดทั้งแม่และทารก การเกิดที่มีคุณภาพจะต้อง เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ที่ผู้หญิงมีความพร้อม และตั้งใจ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนนอกจาก เป็นสาเหตุการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์เพิ่มขึ้นด้วย
0
0
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
วันที่ 19 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมเตรียมความพร้อมคณะผู้บริหารสภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละ
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ประสานวิทยากรและกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินกิจกรรมโครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ขาดความรู้ในการป้องกันทั้งก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเสี่ยงต่อการทำแท้งผิดกฎหมาย และ ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะเกิดมา คือ ทารกในครรภ์เติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด ทารก น้ำหนักตัวน้อย ภาวะทุพโภชนาการ ครรภ์เป็น พิษ ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด และยังพบ ปัญหาการทำแท้งและทิ้งลูกในกลุ่มแม่วัยรุ่นอยู่ บ่อยครั้ง นอกจากด้านสุขภาพแล้วยังส่งผล กระทบด้านการศึกษาเมื่อตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะขาดโอกาสในการศึกษา ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่วัยรุ่นยังไม่มีอาชีพจึงขาด รายได้ครอบครัวแตกแยก และเป็นภาระของ ครอบครัวหลักถ้าไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง การพัฒนาคุณภาพประชากรต้องเริ่ม ตั้งแต่การเกิด โดยมีการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนตั้งครรภ์ดูแลครรภ์ขณะคลอด และหลัง คลอดทั้งแม่และทารก การเกิดที่มีคุณภาพจะต้อง เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ที่ผู้หญิงมีความพร้อม และตั้งใจ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนนอกจาก เป็นสาเหตุการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์เพิ่มขึ้นด้วย
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการขอตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองแลสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น (2) เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการขอตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น (3) เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองแลสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4117-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชาญวิทย์ พลอยสมบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายชาญวิทย์ พลอยสมบุญ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4117-2-02 เลขที่ข้อตกลง 2
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4117-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” กรมอนามัยได้กำหนดนิยาม หมายถึง จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของหญิงอายุ 15 - 19 ปี หรือ 10 - 14 ปี ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ โดยองค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15 - 19 ปี (Adolescent birth rate) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่นานาชาติต้องบรรลุให้ได้ภายในปี พ.ศ.2573 โดยได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 - 14 ปี และอายุ 15 - 19 ปี เป็นหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายที่ 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่เพียงแต่เป็นปัญหาด้านสุขภาพ แต่ยังเป็นปัญหาด้านประชากรที่ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอีกด้วย สถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชนที่ เป็นผลมาจากสภาพแวดล้อม ในปัจจุบันมีความ รุนแรงและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะปัญหา การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ซึ่งองค์การอนามัย โลก (WHO) เปิดเผยเกี่ยวกับสถานการณ์การ ตั้งครรภ์ของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ทั่วโลกในปี 2556 โดยประเทศไทยมีจำนวนสูงถึง 74 : 1,000 หญิงอายุ 15 – 19 ปีซึ่งเป็นอันดับ 2 ในประเทศ กลุ่มอาเซียน จากปัญหาดังกล่าวประเทศไทยได้ มีความตระหนักต่อปัญหาและได้มียุทธศาสตร์ใน การแก้ไขปัญหาและดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นลดลง ทั้งนี้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นที่ยังคงมีความสำคัญที่นานาชาติและประเทศไทยให้ความสำคัญ นับตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา อัตราการเกิดของประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง จนนำไปสู่การคาดการณ์และเตรียมความพร้อมในการเป็นสังคมผู้สูงอายุ ขณะเดียวกันกลับมีข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าในรอบสิบปีที่ผ่านมา วัยรุ่นหญิงมีอัตราการคลอดที่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2555 มีหญิงไทยคลอดทั้งสิ้น 801,777 ราย ในจำนวนนี้เป็นการคลอดของวัยรุ่นหญิงวัยรุ่นหญิงอายุ 15 - 19 ปี จำนวน 129,451 ราย หรือคิดเป็นอัตราการคลอดของวัยรุ่นหญิง 53.8 ราย ต่อประชากรวัยเดียวกัน 1,000 ราย เพิ่มขึ้นจาก 31.1 ราย ต่อ 1,000 รายในปี 2543 จากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นได้รับการกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้กำหนดนโยบายที่มุ่งเน้นการ “บูรณาการ” ทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2553 - 2557) ที่เน้นการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดีในกลุ่มประชากรวัยรุ่นและเยาวชนก่อน ซึ่งจะส่งผลต่อการลดการตั้งครรภ์ การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ในประชากรวัยนี้ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งการดำเนินงานแบบบูรณาการในบทบาทที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ขาดความรู้ในการป้องกันทั้งก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเสี่ยงต่อการทำแท้งผิดกฎหมาย และ ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะเกิดมา คือ ทารกในครรภ์เติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด ทารก น้ำหนักตัวน้อย ภาวะทุพโภชนาการ ครรภ์เป็น พิษ ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด และยังพบ ปัญหาการทำแท้งและทิ้งลูกในกลุ่มแม่วัยรุ่นอยู่ บ่อยครั้ง นอกจากด้านสุขภาพแล้วยังส่งผล กระทบด้านการศึกษาเมื่อตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะขาดโอกาสในการศึกษา ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่วัยรุ่นยังไม่มีอาชีพจึงขาด รายได้ครอบครัวแตกแยก และเป็นภาระของ ครอบครัวหลักถ้าไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง การพัฒนาคุณภาพประชากรต้องเริ่ม ตั้งแต่การเกิด โดยมีการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนตั้งครรภ์ดูแลครรภ์ขณะคลอด และหลัง คลอดทั้งแม่และทารก การเกิดที่มีคุณภาพจะต้อง เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ที่ผู้หญิงมีความพร้อม และตั้งใจ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนนอกจาก เป็นสาเหตุการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์เพิ่มขึ้นด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น
- เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการขอตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
- เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองแลสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถป้องกันการมีเพศสมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- เยาวชนและชุมชนเกิดความกระหนักในการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- เยาวชนมีร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น |
||
วันที่ 19 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ขาดความรู้ในการป้องกันทั้งก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเสี่ยงต่อการทำแท้งผิดกฎหมาย และ ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะเกิดมา คือ ทารกในครรภ์เติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด ทารก น้ำหนักตัวน้อย ภาวะทุพโภชนาการ ครรภ์เป็น พิษ ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด และยังพบ ปัญหาการทำแท้งและทิ้งลูกในกลุ่มแม่วัยรุ่นอยู่ บ่อยครั้ง นอกจากด้านสุขภาพแล้วยังส่งผล กระทบด้านการศึกษาเมื่อตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะขาดโอกาสในการศึกษา ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่วัยรุ่นยังไม่มีอาชีพจึงขาด รายได้ครอบครัวแตกแยก และเป็นภาระของ ครอบครัวหลักถ้าไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง การพัฒนาคุณภาพประชากรต้องเริ่ม ตั้งแต่การเกิด โดยมีการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนตั้งครรภ์ดูแลครรภ์ขณะคลอด และหลัง คลอดทั้งแม่และทารก การเกิดที่มีคุณภาพจะต้อง เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ที่ผู้หญิงมีความพร้อม และตั้งใจ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนนอกจาก เป็นสาเหตุการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์เพิ่มขึ้นด้วย
|
0 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น |
||
วันที่ 19 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสภาเด็กและเยาวชนตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ขาดความรู้ในการป้องกันทั้งก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเสี่ยงต่อการทำแท้งผิดกฎหมาย และ ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะเกิดมา คือ ทารกในครรภ์เติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด ทารก น้ำหนักตัวน้อย ภาวะทุพโภชนาการ ครรภ์เป็น พิษ ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด และยังพบ ปัญหาการทำแท้งและทิ้งลูกในกลุ่มแม่วัยรุ่นอยู่ บ่อยครั้ง นอกจากด้านสุขภาพแล้วยังส่งผล กระทบด้านการศึกษาเมื่อตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะขาดโอกาสในการศึกษา ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่วัยรุ่นยังไม่มีอาชีพจึงขาด รายได้ครอบครัวแตกแยก และเป็นภาระของ ครอบครัวหลักถ้าไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง การพัฒนาคุณภาพประชากรต้องเริ่ม ตั้งแต่การเกิด โดยมีการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนตั้งครรภ์ดูแลครรภ์ขณะคลอด และหลัง คลอดทั้งแม่และทารก การเกิดที่มีคุณภาพจะต้อง เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ที่ผู้หญิงมีความพร้อม และตั้งใจ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนนอกจาก เป็นสาเหตุการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์เพิ่มขึ้นด้วย
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการขอตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองแลสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น (2) เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการขอตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น (3) เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองแลสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาและวิธีป้องกันการตั้งครรภไม่พร้อมในวัยรุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบาละวัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดีมีอนาคต จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4117-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชาญวิทย์ พลอยสมบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......