กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอารมย์ พุทธังกุโร

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8402-2-09 เลขที่ข้อตกลง 11/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L8402-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อวิถีชีวิตของคนมากขึ้น ทั้งนี้เป็นผลจากสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ที่ถูกคิดค้นขึ้นจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เข้ามาอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตประจำวัน ทำให้การเคลื่อนไหวร่างกายลดลงส่งผลให้ร่างกายอ่อนแอลงเรื่อยๆ นำไปสู่ภาวการณ์เสื่อมสภาพของร่างกายและจิตใจ รวมทั้งก่อให้เกิดความบกพร่องในการสร้างภูมิต้านทานโรค ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ข้อเสื่อม ข้อติด รวมทั้งโรคเครียด ซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการขาดการออกกำลังกาย หรือมีกิจกรรมการเคลื่อนไหว หรือการใช้แรงกายลดลง ซึ่งเอไอเอ ประเทศไทย ได้เผยผลการสำรวจ ดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์ ประจำปี 2561 ซึ่งนับเป็นการสำรวจครั้งที่ 4 นับตั้งแต่ปี 2554 โดยเน้นสำรวจแนวโน้มด้านสุขภาพ แรงจูงใจ และความกังวลในเรื่องสุขภาพของบุคคลและชุมชนทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก พบว่า ปัจจุบันคนไทยพอในในสุขภาพของตนเองน้อยลง แม้จะมีพฤติกรรมด้านสุขภาพดีขึ้นโดยผู้ตอบแบบสอบถามได้ใช้เวลาในการออกกำลังกายโดยเฉลี่ย 4.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ในปี 2559 แต่ระดับความพึงพอใจในสุขภาพลดลงเหลือเพียง 82 % จาก 86 % ในปี 2559 สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรคสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกายดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี ดังนั้น ประชาชนจึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการขยับกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น ในประชาชนทั่วไป ในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านควนปอม ซึ่งเป็นพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม ตำบลคูหาใต้ เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและมีสุขภาพแข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 25 มีความรู้เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 25 มีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
  3. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ที่มีค่าดัชนีมวลกายลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและวิธีการออกกำลังกายที่ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายและมีสุขภาพที่แข็งแรงมากขึ้น 3.ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ 4.ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 25 มีความรู้เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการออกกำลังกายหลังเข้าร่วมโครงการมากกว่า ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 25 มีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการมากกว่า ร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ที่มีค่าดัชนีมวลกายลดลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีค่าดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 50
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 25 มีความรู้เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 25 มีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น (3) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ที่มีค่าดัชนีมวลกายลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8402-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอารมย์ พุทธังกุโร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด