กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564 ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางถนอมสิน หิรัญสถิตย์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5284-01-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5284-01-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จำเป็นจะต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบ เนื่องจากเป็นโรคที่ต้องดูแล รักษาอย่างต่อเนื่อง มีค่าใช้จ่ายที่สูงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งปัจจัยของการเกิดโรคประกอบไปด้วยหลายๆปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง สภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว วัฒนธรรมตะวันตก ภาวะการณ์ทำงานที่เร่งรีบ เป็นต้นส่งผลให้ประชาชนมีภาวะเสี่ยงและป่วยต่อการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้ สามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยอาศัยหลัก 3 อ2ส และการติดตามวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยรู้ค่าความดันที่แท้จริง เพื่อการปรับเปลี่ยนเพื่อลดระดับความดันโลหิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นส่วนสถานการณ์โรคไม่ติดต่อในปัจจุบันปี2563 รพสต.บ้านกุบังปะโหลด มีผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน16 คนความดันโลหิตสูง100คนผู้ป่วยที่เป็นทั้งความดันและเบาหวาน 86คน โดย โรคความดันโลหิตสูงมีอัตราเพิ่มจากปี 2563 ร้อยละ 5.26 โรคเบาหวาน เพิ่มร้อยละ5.31
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลดเห็นความสำคัญ ของการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ซึ่งเป็นการตรวจร่างกายที่สำคัญอย่างหนึ่ง เกี่ยวกับสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดเบื้องต้น ซึ่งทำได้ภายในเวลารวดเร็ว โดยไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดใด ๆ การวัดทำโดยสอดแขนจนสุดต้นแขนเข้าไปในเครื่องอัตโนมัติ แล้วผ้าพันรอบแขนสูบลมให้ผ้าพองขึ้นจนเกิดแรงบีบในขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัว ที่แขน จากนั้นลมปล่อยออกคลายตัวและรอดูค่าความดันที่จะปรากฏคงที่ในเวลาต่อมา ภาวะความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการบ่งบอก ผู้ป่วยอาจไม่เคยรู้ตัวจนกระทั่งได้รับการตรวจความดันโลหิตเบื้องต้น เมื่อเข้ารับการรักษาหรือตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาล การตรวจพบภาวะความดันโลหิตสูงและรับการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ นั้นสามารถป้องกันการเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง รวมถึงโรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับตาได้ การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านของคนไข้ในเขตรพ.สต.บ้านกุบังปะโหลด ยังมีเครื่องวัดความดันโลหิตที่ยังไม่เพียงพอ และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ไม่มีกำลังทรัพย์ ในการจะมีเครื่องวัดความดันโลหิตส่วนตัว ดังนั่นการสอนญาติผู้ดูแล การสอนผู้ป่วยที่สามารถวัดได้เองจึงเป็นสิ่งสำคัญ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลดจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564 โดยจะจัดให้มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนในกลุ่มป่วยแก่ญาติผู้ดูแล หรือผู้ป่วย ควบคู่กับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน 7วัน โดยให้อสม ที่ผ่านการอบรมการวัดความดันโลหิตที่บ้านสอนผู้ป่วยหรือผู้ดูแลในเขตบ้านที่รับผิดชอบเพื่อการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน 7 วัน โดยวัดตอนตื่นนอนตอนเช้า 2 ครั้ง และก่อนเข้านอน 2 ครั้ง เอาค่าที่ได้มาเฉลี่ย หากยังเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท จะต้องมีการปรับยา หากสูงมากส่งกลับรพ.ควนโดนแม่ข่ายเพื่ออยู่ในการดูแลของแพทย์ ตามแนวทางปฏิบัติที่รพ.แม่ข่ายกำหนดไว้เพื่อประสิทธิภาพ ของการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้องรังความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านกุบังปะโหลด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้วัดความดันโลหิตที่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 38
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดีมากร้อยละ 50 2.ผู้ป่วยได้รับการติดตามและประเมินสุขภาพทุก 3 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้วัดความดันโลหิตที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1.ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ในเรื่อง 3อ2ส.เพิ่มขึ้น ร้อยละ80 ข้อที่ 2.กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ร้อยละ 100 ข้อที่ 3.กลุ่มป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 38
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส.  ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้วัดความดันโลหิตที่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มป่วย อสม.ร่วมใจวัดความดันที่บ้าน ปี2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5284-01-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางถนอมสิน หิรัญสถิตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด