กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูง ปี 2564 ”

ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดวงดาว พรหมเจียม

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูง ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2484-02-08 เลขที่ข้อตกลง 8/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูง ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูง ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2484-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 70 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้ประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น การเร่งรีบ การแข่งขันในการทำงาน การบริโภคอาหารไม่คำนึงถึงหลักโภชนาการที่ร่างกายจำเป็นต้องนำไปใช้ จึงทำให้เกิดการขาดความสมดุลของสารอาหาร เช่น ภาวะอ้วน มีคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทำให้เกิดการตีบแคบของเส้นเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ขาดการออกกำลังกายอายุมากขึ้นหรือมีความเครียดในการดำเนินชีวิตประจำวันทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จากการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุนทอง ปีงบประมาณ 2563 มีผลการดำเนินงานดังนี้คือ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน จำนวน 500 คน คิดเป็นร้อยละ 99.20 พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 175 คน คิดร้อยละ35.00 พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 22.00 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 148 คน และโรคเบาหวาน จำนวน 42 คน จากข้อมูลดังกล่าว คณะกรรมการสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุนทอง มีความตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  3. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทบทวนความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย
  2. อสม.เยี่ยมบ้านติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาตรฐานตามเกณฑ์
  2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
  3. การเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดลง
  4. การเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อสม.เยี่ยมบ้านติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

วันที่ 20 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อสม.เยี่ยมบ้านติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

 

0 0

2. ประชุมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทบทวนความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย

วันที่ 25 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทบทวนความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 4 ครั้ง มีการวัดความดันโลหิตสูงและค่าระดับนำ้ตาลในเลือดก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 4 ครั้ง มีการวัดความดันโลหิตสูงและค่าระดับนำ้ตาลในเลือดก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมพบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความดันโลหิตสูงและค่าระดับนำ้ตาลในเลือดลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการพบว่า กลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน ทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 4 ครั้ง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเพิ่มขึ้นจากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง ร้อยละ 95.10 มีค่าความดันโลหิตและค่าระดับนำ้ตาลในเลือดลดลงหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 57.50 ึ ผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2564 เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 3-

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
0.00 95.10

ทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 4 ครั้ง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเพิ่มขึ้นจากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง ร้อยละ 95.10

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
0.00 57.50

ทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 4 ครั้ง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเพิ่มขึ้นจากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง ร้อยละ 95.10

3 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ 3
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (3) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทบทวนความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย (2) อสม.เยี่ยมบ้านติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูง ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2484-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดวงดาว พรหมเจียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด