กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลเฝ้าระวังสุขภาพจิตเพื่อป้องกันปัญหาฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-L3325-1-
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง
วันที่อนุมัติ 22 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 ธันวาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 7 กันยายน 2564
งบประมาณ 27,035.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรลักษญ์ บุญจันทร์ศรี
พี่เลี้ยงโครงการ นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า
25.00
2 ร้อยละของผู้มีภาวะเสี่ยงได้รับการประเมิน2Q,9Q,8Q ไม่น้อยกว่าร้อยละ80
50.00
3 ร้อยละของผู้อบรมมีความรู้ในเรื่องของสุขภาพจิต
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น

ประชากรกลุ่มเสี่ยงคือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง,ผู้สูงอายุ และผู้ใช้สุรายาเสพติดได้รับการประเมิน 2Q,9Q และ 8Q ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

45.00 80.00
2 เพื่อให้ อสม. มีความรู้สามารถค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย

อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น “อสม.เชี่ยวชาญสุขภาพจิต” มีความรู้เรื่อง คู่มือ 10 สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตายสามารถค้นหา เฝ้าระวังและแจ้งเหตุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

20.00 50.00
3 เพื่อสร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับใช้ในสถานบริการและพื้นที่

มีรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำเร็จใช้ในสถานบริการและพื้นที่

10.00 20.00
4 เพื่อให้ประชาชนเข้าใจรับรู้ถึงสัญญาณ เตือนในการฆ่าตัวตายกับคนใกล้ตัวและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้

ร้อยละ 50 ของประชาชนได้รับการเยี่ยมบ้านถ่ายทอดความรู้ เรื่อง 10 สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตาย

20.00 50.00
5 คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายด้วยคำถาม2Q,9Q และ 8Q ตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ

ผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินสุขภาพจิตตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

40.00 80.00
6 ติดตามดูแลให้ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคศิลป์เศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

40.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,035.00 0 0.00
2 ก.พ. 64 - 31 มี.ค. 64 อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. 0 15,698.00 -
1 - 29 เม.ย. 64 สร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการในพื้นที่ 0 0.00 -
3 - 31 พ.ค. 64 คัดกรองภาวะตัวซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ใน (depress and Suicide Screening test : DS8) 0 6,489.00 -
3 - 31 พ.ค. 64 คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 0 0.00 -
1 - 30 มิ.ย. 64 ติดตามผู้ป่วยโรคจิตและป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง 0 0.00 -
1 - 21 ก.ค. 64 6. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 10 สัญญาณเตือนภัยฆ่าตัวตาย 0 4,848.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น 2. เพื่อให้ อสม. มีความรู้สามารถค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย 3. เพื่อสร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับใช้ในสถานบริการและพื้นที่

  1. เพื่อให้ประชาชนเข้าใจรับรู้ถึงสัญญาณ เตือนในการฆ่าตัวตายกับคนใกล้ตัวและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้
  2. คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายด้วยคำถาม2Q,9Q และ 8Q ตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ
  3. ติดตามดูแลให้ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2564 11:39 น.