กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลเฝ้าระวังสุขภาพจิตเพื่อป้องกันปัญหาฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลเฝ้าระวังสุขภาพจิตเพื่อป้องกันปัญหาฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง

นางวรลักษณ์ บุญจันทร์ศรี

หมู่ที่ 1 นอกเขต ม.2,3,5 หมู่ที่ 7 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า

 

25.00
2 ร้อยละของผู้มีภาวะเสี่ยงได้รับการประเมิน2Q,9Q,8Q ไม่น้อยกว่าร้อยละ80

 

50.00
3 ร้อยละของผู้อบรมมีความรู้ในเรื่องของสุขภาพจิต

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น

ประชากรกลุ่มเสี่ยงคือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง,ผู้สูงอายุ และผู้ใช้สุรายาเสพติดได้รับการประเมิน 2Q,9Q และ 8Q ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

45.00 80.00
2 เพื่อให้ อสม. มีความรู้สามารถค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย

อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น “อสม.เชี่ยวชาญสุขภาพจิต” มีความรู้เรื่อง คู่มือ 10 สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตายสามารถค้นหา เฝ้าระวังและแจ้งเหตุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

20.00 50.00
3 เพื่อสร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับใช้ในสถานบริการและพื้นที่

มีรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำเร็จใช้ในสถานบริการและพื้นที่

10.00 20.00
4 เพื่อให้ประชาชนเข้าใจรับรู้ถึงสัญญาณ เตือนในการฆ่าตัวตายกับคนใกล้ตัวและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้

ร้อยละ 50 ของประชาชนได้รับการเยี่ยมบ้านถ่ายทอดความรู้ เรื่อง 10 สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตาย

20.00 50.00
5 คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายด้วยคำถาม2Q,9Q และ 8Q ตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ

ผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินสุขภาพจิตตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

40.00 80.00
6 ติดตามดูแลให้ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคศิลป์เศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

40.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,000
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1,000
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ใช้สารเสพติด/แอลกอฮอล์ 133
อาสาสมัครสาธารณสุข 61

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/12/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.

ชื่อกิจกรรม
อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ ๘o บาทต่อคน คนละ ๑ มื้อ จำนวน ๖๕ คน เป็นเงิน ๕,๒00 บาท ๒.ค่าอาหารว่าง มื้อละ ๒๕ บาทต่อคน คนละ ๒ มื้อ จำนวน ๖๕ คน เป็นจำนวนเงิน๓,๒๕o บาท ๓.ค่าวิทยากรหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้เป็น “อสม.เชียวชาญสุขภาพจิต”ชั่วโมงละ ๖00 บาท จำนวน ๖ ชม. เป็นเงิน ๓,๖00 บาท ๔.ค่าป้ายโครงการ ขนาด ๑.๒ x ๓ เมตร ราคาตารางเมตรละ ๑๘o บาท จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๔๘ บาท ๕.ค่าจัดสถานที่จัดอบรม จำนวน ๑,000 บาท ๖.ค่าถ่ายเอกสาร ค่าวัสดุและบริหารจัดการอบรม เหมาจ่าย ๒,000 บาท รวมเป็นเงิน ๑๕,๖๙๘ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

“อสม.เชี่ยวชาญสุขภาพจิต” สามารถดำเนินงานตามคู่มือสุขภาพที่ชุมชนสลับ อสม.ของกรมสุขภาพจิต มีความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและเข้าใจในเรื่อง 10 สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตายและหลักธรรมปฐมพยาบาลทางจิตใจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15698.00

กิจกรรมที่ 2 สร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
สร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

นำ 10 สัญญาณเตือนภัย ในการฆ่าตัวตาย มาใช้ในชุมชนและครัวเรือนแจ้งข่าว การส่งต่อ การดูแลเบื้องต้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 29 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีวิธีรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 คัดกรองภาวะตัวซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ใน (depress and Suicide Screening test : DS8)

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองภาวะตัวซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ใน (depress and Suicide Screening test : DS8)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรองโรคซึมเศร้าและประเมินการฆ่าตัวตาย คำถาม ๒Q, ๙Q และ ๘Q  แบบคัดกรองละ ๑ บาท จำนวนแบบละ ๒,๑๖๓ แผ่น เป็นเงิน  ๖,๔๘๙ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถแยก คัดกรองสภาวะจิตใจของแต่ละบุคคลออกได้ชัดเจน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6489.00

กิจกรรมที่ 4 คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ด้วยคำถาม 2Q,9Q และ 8Q  ตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถแยก คัดกรองสภาวะจิตใจของแต่ละบุคคลออกได้ชัดเจน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามผู้ป่วยโรคจิตและป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผู้ป่วยโรคจิตและป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ลงพื้นที่ติดตามผู้ป่วย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถแยก คัดกรองสภาวะจิตใจของแต่ละบุคคลออกได้ชัดเจน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 6. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 10 สัญญาณเตือนภัยฆ่าตัวตาย

ชื่อกิจกรรม
6. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 10 สัญญาณเตือนภัยฆ่าตัวตาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.จัดทำป้าย ๑o สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตาย ขนาด ๑.๕x๓ ม ราคาตารางเมตรละ ๑๘o บาท จำนวน ๕ ป้าย เป็นเงินป้ายละ ๘๑o รวมเป็นเงิน ๔,o๕o บาท ๒.ค่าถ่ายเอกสาร ๑o สัญญาณเตือนภัยในการฆ่าตัวตาย ขนาด A๔ จำนวน ๗๙๘ แผ่นละ ๑ บาท เป็นจำนวนเงิน  798 บาท รวมเป็นเงิน ๔,๘๔๘ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 21 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีป้ายเตือนภัยในการฆ่าตัวตายติดตั้งที่ศูนย์กลางของชุมชนแต่ละหมู่บ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4848.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,035.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น
2. เพื่อให้ อสม. มีความรู้สามารถค้นหาเฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
3. เพื่อสร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับใช้ในสถานบริการและพื้นที่

4. เพื่อให้ประชาชนเข้าใจรับรู้ถึงสัญญาณ
เตือนในการฆ่าตัวตายกับคนใกล้ตัวและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้
5. คัดกรองและประเมินสุขภาพจิตของผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายด้วยคำถาม2Q,9Q และ 8Q
ตามรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในสถานบริการ
6. ติดตามดูแลให้ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง


>