กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอรสา รักเถาว์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการ

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64 - L2985 – 02 - 04 เลขที่ข้อตกลง 8/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64 - L2985 – 02 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ ถ้าอาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก  โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกหลัก
นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้ จำนวน 105 คน จากการสำรวจภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี พบว่า นักเรียนมีภาวะขาดสารอาหาร (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) จำนวน 31 คิดเป็นร้อยละ29.52 นักเรียนที่บริโภคผักและผลไม้ วันละ 400 กรัม จำนวน 105คน คิดเป็นร้อยละ 100 สาเหตุเกิดจากผู้ปกครองต้องออกจากบ้านไปประกอบอาชีพตอนกลางคืนและกลับถึงบ้านช่วงเวลา 09.00 น. ทำให้ไม่สามารถประกอบอาหารมื้อเช้าให้ลูกรับประทานก่อนไปโรงเรียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนส่วนใหญ่จะซื้อขนมขบเคี้ยวที่มีผงชูรสมารับประทาน บางคนก็ไม่ได้ทานอาหารเช้าเลยซึ่งทำให้นักเรียนได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ส่งผลกระทบให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น โรงเรียนบ้านนาค้อใต้ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กวัยเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีภาวะโภชนาการดี มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัยไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมความรู้พื้นฐานเรื่องโภชนาการในเด็กวัยเรียน
  2. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพแก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู
  2. กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 31
กลุ่มวัยทำงาน 41
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กวัยเรียน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะขาดสารอาหารได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
  2. เด็กวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  3. ผู้ปกครอง และครู มีความรู้ ความเข้าใจ ด้านโภชนาการในเด็กวัยเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพแก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู

วันที่ 16 พฤษภาคม 2564 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพแก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู 1.1 กิจกรรมย่อย -  วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับ การบริโภคอาหารให้ถูกสุขลักษณะ -  โภชนาการในเด็กวัยเรียน ภาวการณ์ขาดโภชนาการ - สาธิตวิธีการบริโภคอาหาร 2.การจัดซื้อ
2.1 กิจกรรมย่อย - จัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้มีความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหารรับประทาน และรู้ถึงภัย อันตรายในการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารปนเปื้อน 1.2 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้สามารถเลือกซื้ออาหารรับประทานให้ถูกสุขลักษณะ 1.3 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้สามารถนำข้อมูลที่ได้รับในการอบรมไปเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง ทราบถึงการเลือกซื้ออาหารบริโภค 1.4 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้นำความรู้ที่ได้นำไปปฏิบัติได้จริง ในการเลือกซื้ออาหารบริโภค

 

72 0

2. กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน

วันที่ 16 พฤษภาคม 2564 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน 3.1 ส่งเสริมอาหารเช้าให้นักเรียนที่มีภาวะขาดสารอาหาร 3.2 ติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน (ชั่งน้ำหนักก่อนเริ่มโครงการและชั่งน้ำหนักเดือนละ 1 ครั้ง) 3.3 ซื้อเครื่องชั่งน้ำหนัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ส่งเสริมอาหารเช้าแก่นักเรียนที่มีภาวะขาดสารอาหาร
  2. ทำการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนักทุกๆเดือน

 

31 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้มีความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหารรับประทาน และรู้ถึงภัย อันตรายในการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารปนเปื้อน 1.2 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้สามารถเลือกซื้ออาหารรับประทานให้ถูกสุขลักษณะ 1.3 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้สามารถนำข้อมูลที่ได้รับในการอบรมไปเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง
ทราบถึงการเลือกซื้ออาหารบริโภค 1.4 นักเรียนโรงเรียนบ้านนาค้อใต้นำความรู้ที่ได้นำไปปฏิบัติได้จริง ในการเลือกซื้ออาหารบริโภค

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมความรู้พื้นฐานเรื่องโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูมีความรู้เรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้น ร้อยละ100
100.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : อัตราเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงร้อยละ100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 31 31
กลุ่มวัยทำงาน 41 41
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้พื้นฐานเรื่องโภชนาการในเด็กวัยเรียน (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพแก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู (2) กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64 - L2985 – 02 - 04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรสา รักเถาว์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด