แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดย อสม. 25 คน และประชาชนทั่วไป | 1 เม.ย. 2564 | 24 ก.พ. 2565 |
|
3.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและแบ่งงานมอบหมายหน้าที่/ทำการอบรม สัมมนาให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน และอื่นๆ 3.2 อสม. และเจ้าหน้าที่นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกรณรงค์เผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อ 3.2.1 ช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านเรือนตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆให้มีความเหมาะสมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3.2.2 รู้จักวิธีดูแลตนเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก 3.3 อสม. ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่และชาวบ้านทุกหมู่ ร่วมกันรณรงค์ ออกสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยพร้อมเพรียงกัน
3.4 ควบคุมและป้องกันการระบาด โดยพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย แจกสเปรย์ฉีดยุง |
|
จากการดำเนินกิจกรรมโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ในชุมชน ทั้ง ๔ หมู่บ้านได้ผลดังนี้
-ร้อยละ 98.80 อสม. และเจ้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย |
|
กิจกรรมอบรม/สัมมนาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง และกำหนดข้อตกลง | 1 พ.ค. 2564 | 22 ก.พ. 2565 |
|
3.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและแบ่งงานมอบหมายหน้าที่/ทำการอบรม สัมมนาให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน และอื่นๆ 3.2 อสม. และเจ้าหน้าที่นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกรณรงค์เผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อ 3.2.1 ช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านเรือนตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆให้มีความเหมาะสมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3.2.2 รู้จักวิธีดูแลตนเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก 3.3 อสม. ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่และชาวบ้านทุกหมู่ ร่วมกันรณรงค์ ออกสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยพร้อมเพรียงกัน
3.4 ควบคุมและป้องกันการระบาด โดยพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย แจกสเปรย์ฉีดยุง |
|
จากการดำเนินกิจกรรมโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ในชุมชน ทั้ง ๔ หมู่บ้านได้ผลดังนี้
-ร้อยละ 98.80 อสม. และเจ้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย |
|
ประชุมกรรมการ สรุปผลการดำเนินโครงการ ถอดบทเรียน และติดตามข้อตกลง | 1 มิ.ย. 2564 | 25 ก.พ. 2565 |
|
3.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและแบ่งงานมอบหมายหน้าที่/ทำการอบรม สัมมนาให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน และอื่นๆ 3.2 อสม. และเจ้าหน้าที่นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกรณรงค์เผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อ 3.2.1 ช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านเรือนตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆให้มีความเหมาะสมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3.2.2 รู้จักวิธีดูแลตนเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก 3.3 อสม. ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่และชาวบ้านทุกหมู่ ร่วมกันรณรงค์ ออกสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยพร้อมเพรียงกัน
3.4 ควบคุมและป้องกันการระบาด โดยพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย แจกสเปรย์ฉีดยุง |
|
จากการดำเนินกิจกรรมโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ในชุมชน ทั้ง ๔ หมู่บ้านได้ผลดังนี้
-ร้อยละ 98.80 อสม. และเจ้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย |
|