กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ด้านการควบคุมโรค ไม่ติดต่อ งานคุ้มครองผู้บริโภค งานหลักประกันสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

assignment
บันทึกกิจกรรม
ดำเนินการจัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย 4 กันยายน 2560
4
กันยายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทุ่งนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ส่วนที่ ๓ :แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ(สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม.....โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ งานคุ้มครองผู้บริโภค งานหลักประกันสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  อำเภอควนกาหลง  จังหวัดสตูล  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐....................................................................................... ๑. ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน  ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ  งานคุ้มครองผู้บริโภค  งานหลักประกันสุขภาพ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  อำเภอควนกาหลง  จังหวัดสตูล  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐  ขึ้น ระหว่างวันที่ ๔– ๕  กันยายน  ๒๕๖๐ณ  ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆในชุมชน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน ๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ๒.๑การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ.................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ๒.๒จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...................๑๒๘.................................... คน ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ .........๓๑,๖๐๐......................... บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง .........๓๑,๖๐๐......................... บาท  คิดเป็นร้อยละ ...๑๐๐....... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..............-.................................. บาท  คิดเป็นร้อยละ.......-..........

  1. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ............................................................................................................ แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ........................................................................................................

ลงชื่อ................................................................ผู้รายงาน (..........นางยุพา  ปังแลมาเส็น...............) ตำแหน่ง ...พยาบาลวิชาชีพ  ระดับชำนาญการ............ วันที่-เดือน-พ.ศ. ......๒๙  กันยายน  ๒๕๖๐.................... ผลการดำเนินการโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ งานคุ้มครองผู้บริโภค งานหลักประกันสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  อำเภอควนกาหลง  จังหวัดสตูล
ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ตอนที่ ๑.ประเมินประสิทธิผลโครงการ

๑.๑  ผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ ผลการดำเนินงานโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน  ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ  งานคุ้มครองผู้บริโภค  งานหลักประกันสุขภาพ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  อำเภอควนกาหลง  จังหวัดสตูล  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐  ขึ้น ระหว่างวันที่ ๔ – ๕  กันยายน  ๒๕๖๐  ณ  ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆในชุมชน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน

๑.๒เปรียบเทียบผลงานกับกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมรับการอบรมเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน ๑๒๘ คน มีผู้เข้าร่วมโครงการดังกล่าวรวมทั้งสิ้น  ๑๒๘  คนผลงานเท่ากับร้อยละ ๑๐๐

๑.๓  เปรียบเทียบผลงานกับผลที่คาดว่าจะได้รับ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรม  มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้น  คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๓๒ของผู้ที่เข้าร่วมอบรมทั้งหมด  ระบบการเฝ้าระวังและดูแลโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพของชุมชน และสามารถจัดการด้านสุขภาพในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๑.๔  เปรียบเทียบผลงานกับงบประมาณที่ใช้ไป งบประมาณได้รับการสนับสนุนจากกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จำนวนเงิน ๓๑,๖๐๐ บาท ใช้จ่ายไปในการจัดทำโครงการฯ  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๓๑,๖๐๐  บาท  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐  ของงบประมาณที่ได้รับสนับสนุนโดยมีผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด ๑๒๘ คน คิดค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ ต่อผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน ๑ คน เฉลี่ยคนละ  ๒๔๖.๘๘บาท การประเมินประสิทธิภาพทางค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของโครงการ

ทรัพยากรที่ใช้=  จำนวนงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน=  ๓๑,๖๐๐      =    ๒๔๖.๘๘ ผลผลิต        จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ              ๑๒๘





๑.๕  เปรียบเทียบผลงานกับความทันเวลาในการดำเนินโครงการ

ระยะเวลาตามโครงการฯที่กำหนด ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง วัน / เดือน / ปี กิจกรรมที่วางแผน วัน / เดือน / ปี กิจกรรมที่ดำเนินการ มิถุนายน ๖๐ -เสนอร่างโครงการ ๒ มิถุนายน ๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ มิถุนายน ๖๐ -ศึกษาบริบทของหมู่บ้าน  ๒ – ๑๐ มิ.ย. ๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ มิถุนายน ๖๐ -จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุข  แกนนำชุมชน  เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อเสนอข้อมูล  พิจารณาปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๑๑ – ๑๔ มิ.ย.๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ มิ.ย. ๖๐ -เขียนโครงการและศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ  ๑๑ – ๑๔ มิ.ย. ๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ       มิ.ย. ๖๐ -เสนอโครงการผ่านเวทีประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ  องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย  เพื่อขออนุมัติและสนับสนุนงบประมาณ   ๔  ก.ค. ๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ    แต่ล่าช้ากว่าปกติเนื่องจากพิจารณาอนุมัติโครงการฯล่าช้า มิ.ย.๖๐ – ก.ย.๖๐ ดำเนินการตามแผนงานโครงการที่จัดทำขึ้น จำนวน  ๒ ครั้ง  ระยะเวลา ๒ วัน ๑ มิ.ย.– ๓๐ก.ย. ๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ    แต่ล่าช้ากว่าปกติเนื่องจากพิจารณาอนุมัติโครงการฯล่าช้า กันยายน  ๖๐ -สรุปผลการดำเนินงานพร้อมปัญหาและอุปสรรค ๒๑ – ๒๕ ก.ย. ๖๐ -ได้ดำเนินการตามโครงการฯ    แต่ล่าช้ากว่าปกติเนื่องจากการรวบรวมเอกสารหลักฐาน

๑.๖ ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย (ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ,เจ้าหน้าที่)

ประเภทผู้เข้าร่วมโครงการฯ ความพึงพอใจต่อการจัดทำโครงการ ฯ จำนวน  ( ร้อยละ ) ดีมาก ดี ปานกลาง ต้องปรับปรุง กลุ่มเป้าหมาย      ( ๑๐๐ ) ๓๘    (๒๙.๖๙%) ๙๐    (๗๐.๓๑%) ๐ ๐ เจ้าหน้าที่            ( ๘  ) ๘      ( ๑๐๐% ) ๐ ๐ ๐

สรุป จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯทั้งหมดจำนวน ๑๒๘ คน พบว่า
ความพึงพอใจระดับดีมาก  คิดเป็นร้อยละ  ๒๙.๖๙ ความพึงพอใจระดับดี  คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๓๑ จากการประเมินความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ทั้งหมดจำนวน ๘ คน พบว่า
มีความพึงพอใจระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ตอนที่ ๒  ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ - ไม่มี

ตอนที่ ๓.ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการ ๓.๑การดำเนินโครงการฯเสร็จสิ้น เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ ควรมีการติดตามผลเป็นระยะๆ เพื่อความต่อเนื่องและเป็นขวัญกำลังใจ จะได้มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

๓.๒การดำเนินโครงการฯในครั้งต่อไป ใช้รูปแบบการแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรม แบบองค์รวม มีกิจกรรมที่หลากหลายโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน อย่างต่อเนื่อง งบประมาณและระยะเวลา จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นในการขับเคลื่อนให้โครงการฯดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จได้.

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 128 คน จากที่ตั้งไว้ 128 คน
ประกอบด้วย